การวิจัยการศึกษา และวิจัยในชั้นเรียน

(Education and classroom Action Research)

นาฬิกา


ปฎิทิน
April 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
    
ผู้จัดทำ

pat
นายภัทรพล  สำเนียง
14/6 ต.เวียง อ.เมือง จ.พะเยา
อีเมล์:[email protected]
________________________

 

เว็ปไซต์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนวิชา จิตวิทยาการศึกษา ภาคเรียนที่ 2/1554อาจารผู้สอน ผ.ศ สุภวรรณ พันธ์จันทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา ค.อ.บ.วิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงล้านนา เขตพื้นที่พิษณุโลก

________________________

 
เมนู
สถิติ
เปิดเมื่อ3/12/2011
อัพเดท8/02/2012
ผู้เข้าชม125303
แสดงหน้า152722




รูปภาพ รายละเอียด

<p> &nbsp;</p> <p style="text-align: center; "> <span style="font-size:18px;"><strong>นวัตกรรมทางการศึกษา</strong></span></p> <p style="text-align: center; "> <span style="font-size:18px;"><strong>และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล</strong></span></p> <p style="text-align: center; "> &nbsp;&
เพิ่มเติม >>
  คำค้นหา : สูตรของบุญชม2545
   
<p> &nbsp;</p> <p style="text-align: center; "> <span style="font-size:18px;"><strong>นวัตกรรมทางการศึกษา</strong></span></p> <p style="text-align: center; "> <span style="font-size:18px;"><strong>และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล</strong></span></p> <p style="text-align: center; "> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนมักจะใช้ขบวนการในการแก้ไขปัญหาในหลากหลายรูปแบบ เช่น วิธีการสอน การมอบหมายงาน บัตรรายการ แบบฝึกหัด ใบงาน ใบมอบหมายงาน เอกสาร นวัตกรรม สื่อการสอน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบเรียนสำเร็จรูป ฯลฯ แล้วจึงเก็บรวบรวมข้อมูลจากผลสัมฤทธิ์หรือความพึงพอใจที่ผู้เรียนได้รับจากการแก้ปัญหานั้น ๆ โดยเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีอยู่หลายชนิดที่ครูมักนำมาใช้กันบ่อย ๆ ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์(ส่วนใหญ่นำมาใช้กันเป็นแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน) &nbsp;และแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า (ใช้วัดค่าความพึงพอใจ ความรู้สึก เจตคติของผู้เรียน) &nbsp;&nbsp;ซึ่งจะได้ข้อมูลที่มีถูกต้องและแม่นยำนั้น ก็ต้องมีขั้นตอน กระบวนการสร้าง และการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><strong>17.1 การหาค่าประสิทธิภาพและประสิทธิผลของนวัตกรรมหรือสื่อการสอน</strong></span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><strong>17.1.1 การหาค่าประสิทธิภาพ</strong><strong>(Efficiency)</strong></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การหาประสิทธิภาพของสื่อ&nbsp;เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) บทเรียนโปรแกรม&nbsp; ชุดการสอน&nbsp; แผนการสอน&nbsp; แบบฝึกทักษะ เป็นต้น&nbsp; ส่วนมากใช้วิธีการสอนเชิงประจักษ์&nbsp; (empirical&nbsp;approach)&nbsp; วิธีการนี้จะนำสื่อไปทดลองใช้กับกลุ่มนักเรียนเป้าหมายการหาประสิทธิภาพของสื่อ ประสิทธิภาพที่วัดส่วนใหญ่จะพิจารณาจากร้อยละการทำแบบฝึกหัดหรือกระบวนการเรียน หรือแบบทดสอบย่อยโดยแสดงเป็นตัวเลข&nbsp;2&nbsp; ตัว&nbsp; คือ&nbsp; E1/E2 = 80/80,&nbsp;E1/E2 = 85/85,&nbsp;E1/E2 = 90/90&nbsp; เป็นต้น</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตรที่ใช้ในการหาค่าประสิทธิภาพ&nbsp; E1/ E2 มีสูตร ดังนี้&nbsp;(พิสณุ, 2549: 185)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="65" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image002.gif" width="112" />&nbsp;&nbsp;หรือ&nbsp; &nbsp;<img height="44" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif" width="91" /></span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;E1&nbsp;&nbsp; แทน &nbsp;&nbsp;&nbsp;ประสิทธิภาพของกระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่เกิดจากกิจกรรมระหว่างเรียน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; SX&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน ผลรวมของคะแนนที่ได้จากการวัดผลระหว่างเรียน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; N &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน จำนวนผู้เรียน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="21" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image006.gif" width="19" />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้จากการวัดผลระหว่างเรียน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; A&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน จำนวนเต็มจากการวัดผลระหว่างเรียน</span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;สูตร&nbsp; &nbsp;&nbsp;<img height="65" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image008.gif" width="112" />&nbsp;&nbsp;&nbsp;หรือ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<img height="44" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image010.gif" width="91" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;E2&nbsp; แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ ได้จากคะแนนเฉลี่ยของการทำแบบทดสอบหลังเรียนของผู้เรียนทั้งหมด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; SY&nbsp; แทน ผลรวมของคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; N &nbsp; แทน จำนวนผู้เรียน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="21" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image012.gif" width="15" />&nbsp; แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; B&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน จำนวนเต็มของผลการสอบหลังเรียน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">เกณฑ์ประสิทธิภาพ&nbsp;(E1/E2) มีความหมายแตกต่างกันหลายลักษณะ&nbsp;ในที่นี้ยกตัวอย่าง เช่น E1/E2 = 80/80&nbsp;ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1.&nbsp;เกณฑ์&nbsp;80/80&nbsp;ในความหมายที่ 1&nbsp;ตัวเลข&nbsp;80&nbsp;ตัวแรก&nbsp;(E1)&nbsp;คือนักเรียนทั้งหมดทำแบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบย่อยได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ&nbsp;80&nbsp;ถือเป็นประสิทธิภาพของกระบวนการ&nbsp;ส่วนตัวเลข&nbsp;80&nbsp;ตัวหลัง&nbsp;(E2)&nbsp;คือ นักเรียนทั้งหมดที่ทำแบบทดสอบหลังเรียน (post-test)&nbsp;ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ&nbsp;80&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2.&nbsp;เกณฑ์&nbsp;80/80&nbsp;ในความหมายที่ 2&nbsp;ตัวเลข&nbsp;80&nbsp;ตัวแรก&nbsp;(E1)&nbsp;คือ จำนวนร้อยละ&nbsp;80&nbsp;แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test)&nbsp;ได้คะแนนร้อยละ&nbsp;80&nbsp;ทุกคน&nbsp;ส่วนตัวเลข 80&nbsp;ตัวหลัง&nbsp;(E2)&nbsp;คือ นักเรียนทั้งหมดทำแบบทดสอบหลังเรียนครั้งนั้น ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ&nbsp;80&nbsp;เช่น&nbsp;มีนักเรียน&nbsp;40&nbsp;คน&nbsp;ร้อยละ&nbsp;80&nbsp;ของนักเรียนทั้งหมด&nbsp;คือ&nbsp;32&nbsp;แต่ละคนได้คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนถึงร้อยละ&nbsp;80&nbsp;(E1)&nbsp;ส่วน&nbsp;80&nbsp;ตัวหลัง&nbsp;(E2)&nbsp;คือผลการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนทั้งหมด&nbsp;40&nbsp;คน&nbsp;ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ&nbsp;80</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3.&nbsp;เกณฑ์&nbsp;80/80&nbsp;ในความหมายที่ 3 จำนวนนักเรียนทั้งหมดทำแบบทดสอบหลังเรียน ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ&nbsp;80&nbsp;คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 80&nbsp;ที่นักเรียนทำเพิ่มขึ้นจากแบบทดสอบหลังเรียนโดยเทียบกับคะแนนที่ทำได้ก่อนการเรียน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4.&nbsp;เกณฑ์&nbsp;80/80&nbsp;ในความหมายที่ 4&nbsp;ตัวเลข&nbsp;80&nbsp;ตัวแรก&nbsp;(E1)&nbsp;คือ นักเรียนทั้งหมดทำแบบทดสอบหลังเรียน ได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ&nbsp;80&nbsp;ส่วนตัวเลข&nbsp;80&nbsp;ตัวหลัง&nbsp;(E2)&nbsp;หมายถึง นักเรียนทั้งหมดทำแบบทดสอบหลังเรียนแต่ละข้อถูกมีจำนวนร้อยละ&nbsp;80&nbsp;(ถ้านักเรียนทำข้อสอบข้อใดถูกมีจำนวนไม่ถึงร้อยละ&nbsp;80&nbsp;แสดงว่าสื่อไม่มีประสิทธิภาพ&nbsp;และชี้ให้เห็นว่าจุดประสงค์ที่ตรงกับข้อนั้นมีความบกพร่อง)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">กล่าวโดยสรุปว่าเกณฑ์ในการหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนจะนิยมตั้งตัวเลขเป็น&nbsp;3&nbsp;ลักษณะ&nbsp;คือ&nbsp;80/80,&nbsp;85/85&nbsp;และ 90/90 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับธรรมชาติของวิชาและเนื้อหาที่นำมาเสนอสร้างสื่อนั้น&nbsp; ถ้าเป็นวิชาที่ค่อนข้างยากอาจตั้งไว้&nbsp;80/80&nbsp;หรือ&nbsp;85/85&nbsp;สำหรับวิชาที่มีเนื้อหาง่ายก็อาจตั้งเกณฑ์ไว้&nbsp;90/90&nbsp;นอกจากนี้ยังตั้งเกณฑ์เป็นค่าความคลาดเคลื่อนไว้เท่ากับร้อยละ&nbsp;2.5&nbsp;นั่นคือถ้าตั้งเกณฑ์ไว้&nbsp;90/90&nbsp;เมื่อคำนวณแล้วค่าที่ถือว่าใช้ได้&nbsp; คือ&nbsp; 87.5/87.5หรือ 87.5/92.5 เป็นต้น</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ประสิทธิภาพของสื่อและเทคโนโลยีการเรียนการสอน&nbsp;มาจากผลลัพธ์ของการคำนวณ&nbsp; E1&nbsp;และ E2&nbsp;เป็นค่าตัวแรกและตัวหลังตามลำดับ ถ้าตัวเลขใกล้ 100&nbsp;มากเท่าไรยิ่งถือว่ามีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นที่ใช้รับรองประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอน&nbsp;ส่วนแนวคิดในการหาประสิทธิภาพควรคำนึง&nbsp;ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1.&nbsp; สื่อการเรียนการสอนที่สร้างขึ้น ต้องมีการกำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรรมเพื่อการเรียนการสอนอย่างชัดเจนและสามารถวัดได้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;2.&nbsp; เนื้อหาของบทเรียนที่สร้างขึ้น ต้องผ่านกระบวนการวิเคราะห์เนื้อหาตามจุดประสงค์การเรียนการสอน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3. แบบฝึกหัดและแบบทดสอบ&nbsp;ต้องมีการประเมินความเที่ยงตรงของเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ของการสอนที่ได้วิเคราะห์ไว้&nbsp;ส่วนความยากง่ายและอำนาจจำแนกแบบฝึกหัดและแบบทดสอบควรมีการวิเคราะห์&nbsp;เพื่อนำไปใช้กำหนดค่าน้ำหนักของคะแนนในแต่ละข้อคำถาม</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4. จำนวนแบบฝึกหัดต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการสอน จำนวนข้อแบบฝึกหัด และข้อคำถามในแบบทดสอบไม่ควรน้อยกว่าจำนวนวัตถุประสงค์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">จะเห็นว่า&nbsp;การคำนวณหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนนี้&nbsp;เป็นผลรวมของการหาคุณภาพ&nbsp;(quality)&nbsp;ทั้งเชิงปริมาณที่แสดงตัวเลข เชิงคุณภาพที่แสดงเป็นภาษาที่เข้าใจง่าย&nbsp;ดังนั้นประสิทธิภาพของสื่อการเรียนการสอนในที่นี้ จึงเป็นองค์รวมของประสิทธิภาพ&nbsp;และประสิทธิผลอันนำไปสู่การมีคุณภาพซึ่งมักนิยมเรียกรวมกันเป็นที่เข้าใจสั้น ๆ ว่า&nbsp; &ldquo;ประสิทธิภาพ&rdquo;&nbsp; ของสื่อการเรียนการสอน&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><strong>17.</strong><strong>1.2การหาค่าประสิทธิผล (Effectiveness)</strong></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">มีผู้ให้ความหมายของดัชนีประสิทธิผล&nbsp; (Effectiveness&nbsp;Index: E.I.)&nbsp; ไว้ดังต่อไปนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">กรมวิชาการ&nbsp; (2545: 58)&nbsp;กล่าวว่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) เป็นค่าแสดงความก้าวหน้าของผู้เรียนดัชนีประสิทธิผลควรมีค่า&nbsp;0.5&nbsp;ขึ้น&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">บุญชม&nbsp; ศรีสะอาด&nbsp;(2546: 157 -159)&nbsp;กล่าวว่าในการวิเคราะห์หาประสิทธิผลของสื่อ วิธีสอน&nbsp;หรือนวัตกรรม&nbsp;ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและพัฒนาขึ้นว่ามีประสิทธิผล&nbsp;(effectiveness)&nbsp;เพียงใด ก็จะนำสื่อที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้กับผู้เรียนที่อยู่ในระดับมากเหมาะสม&nbsp;แล้วนำผลการทดลองมาวิเคราะห์หาดัชนีประสิทธิผล</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">ไชยยศ&nbsp; เรืองสุวรรณ&nbsp;(2546: 170)&nbsp;ได้กล่าวถึงดัชนีประสิทธิผลไว้ว่า&nbsp;ค่าที่คำนวณจะได้เป็นทศนิยม&nbsp;ซึ่งค่าทศนิยมที่ได้ถ้ามีค่าใกล้ 1 มากเพียงใดยิ่งแสดงว่าสื่อนั้นมีประสิทธิภาพมาก&nbsp;ข้อมูลที่นำมาใช้ในการคำนวณ&nbsp;มาจากคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน&nbsp;ทั้งการทดสอบก่อนเรียน&nbsp;และการทดสอบหลังเรียน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">เผชิญ&nbsp; กิจระการ และสมนึก&nbsp; ภัททิยธนี&nbsp; (2544: 30-36) ได้วิเคราะห์ประสิทธิภาพของสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับประสิทธิภาพของกระบวนการของสื่อ&nbsp;(E1)&nbsp;และประสิทธิภาพของผลลัพธ์&nbsp;(E2)&nbsp;สรุปได้ว่า&nbsp;เป็นการพิจารณาที่เน้นกระบวนการ&nbsp;(E1)&nbsp;กับผลลัพธ์ของสื่อ (E2)&nbsp;ที่ใช้&nbsp;ถ้าหากผู้วิจัยต้องการพิจารณาต่อไปว่าแผนการเรียนหรือสื่อที่สร้างขึ้น ยังมีคุณภาพในแง่มุมอื่นอีกหรือไม่&nbsp;ก็สามารถพิจารณาได้โดยดูพัฒนาการของนักเรียน&nbsp;คือ&nbsp;พิจารณาว่าก่อนหรือหลังการเรียนเรื่องใด ๆ&nbsp;นักเรียนได้พัฒนาหรือมีความสามารถเพิ่มขึ้นอย่างเชื่อได้หรือไม่&nbsp;หรือเพิ่มขึ้นเท่าไร ซึ่งอาจจะพิจารณาได้จากการคำนวณหาค่า t-test&nbsp;(dependent&nbsp;samples) หรือหาค่าดัชนีประสิทธิผล&nbsp;(effectiveness index: E.I.)&nbsp;มีรายละเอียดดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;1. การหาพัฒนาการที่เพิ่มขึ้นของผู้เรียนโดยอาศัยการหาค่า t-test&nbsp;(dependent&nbsp;samples)&nbsp;เป็นการพิจารณาดูว่านักเรียนมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นอย่างเชื่อถือได้หรือไม่&nbsp;โดยทำการทดสอบนักเรียนทุกคนก่อนเรียน (pre - test)&nbsp;และหลังเรียน (post - test) แล้วนำมาหาค่า t- test&nbsp;(dependent&nbsp;samples)&nbsp;หากมีนัยสำคัญทางสถิติก็ถือได้ว่านักเรียนกลุ่มที่ผู้วิจัยกำลังศึกษามีพัฒนาการเพิ่มขึ้นอย่างเชื่อถือได้&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2.&nbsp;การพัฒนาการที่เพิ่มขึ้นของผู้เรียนโดยอาศัยการหาค่าดัชนีประสิทธิผล&nbsp;(effectiveness&nbsp;index: E.I.)&nbsp;ใช้วิธีการของกูดแมน เฟลคเทอร์ และชไนเดอร์ มีสูตรดังนี้&nbsp;(Goodman, Flecther and Schneider, 1980: 30-34 อ้างถึงใน พิสณุ, 2549:187; เผชิญ, 2542: 1-3; บุญชม, 2545: 84; ชัยยงค์, 2537: 494-495; ไชยยศ, 2546 : 172)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ดัชนีประสิทธิผล(รายบุคคล) เท่ากับ ความแตกต่างของคะแนนหลังเรียนกับก่อนเรียน หารด้วยความแตกต่างของคะแนนเต็มกับคะแนนก่อนเรียน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">ดัชนีประสิทธิผล(กลุ่ม) เท่ากับ ความแตกต่างของคะแนนหลังเรียนกับก่อนเรียนของทุกคน หารด้วย ความแตกต่างของ(คะแนนเต็มคูณด้วยจำนวนผู้เรียน)กับคะแนนก่อนเรียนของทุกคน</span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">E.I.&nbsp;รายบุคคล = <u>คะแนนสอบหลังเรียน &ndash; คะแนนสอบก่อนเรียน</u>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;คะแนนเต็ม - คะแนนสอบก่อนเรียน</span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">E.I.&nbsp;กลุ่ม = <u>ผลรวมของคะแนนสอบหลังเรียน &ndash; ผลรวมรวมของคะแนนสอบก่อนเรียน</u></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp; (จำนวนนักเรียน xคะแนนเต็ม) - ผลรวมของคะแนนสอบก่อนเรียน</span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การหาค่า E.I. ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม เป็นการพิจารณาพัฒนาการในลักษณะที่ว่าเพิ่มขึ้นเท่าไร&nbsp;ไม่ได้ทดสอบว่าเพิ่มขึ้นอย่างเชื่อถือได้หรือไม่&nbsp;เช่น ค่า E.I.&nbsp;= 0.6240&nbsp;นั้น เรียกว่า หาค่าดัชนีประสิทธิผล&nbsp;(E.I.)&nbsp;และเพื่อให้สื่อความหมายกันง่ายขึ้นจึงแปลงคะแนนให้อยู่ในรูปร้อยละ&nbsp;เช่น&nbsp;จากค่าดัชนีประสิทธิผล&nbsp;(E.I.)&nbsp;= 0.6240&nbsp;คิดเป็นร้อยละ 62.40&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ข้อสังเกตบางประการที่เกี่ยวกับค่า E.I.</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1.&nbsp;E.I.&nbsp;เป็นเรื่องของอัตราส่วนของผลต่างจะมีค่าสูงสุดเป็น1.00&nbsp;ส่วนค่าต่ำสุดไม่สามารถกำหนดได้&nbsp;เพราะมีค่าต่ำกว่า -1.00&nbsp;ก็ได้&nbsp;และถ้าเป็นค่าลบแสดงว่าคะแนนผลสอบก่อนเรียนมากกว่าหลังเรียน ซึ่งมีความหมายว่า&nbsp;ระบบการเรียนการสอนหรือสื่อที่ใช้ไม่มีคุณภาพ จะยกตัวอย่างค่า&nbsp;E.I.&nbsp; ให้ดูหลาย ๆ รูป ดังนี้&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1.1&nbsp;ถ้าผลสอบก่อนเรียนของนักเรียนทุกคนได้คะแนนรวมเท่าไรก็ได้&nbsp;(ยกเว้นได้คะแนนเต็มทุกคน)&nbsp;ถ้าผลสอบหลังเรียนของนักเรียนทุกคนทำถูกหมดทุกข้อ&nbsp;(ได้คะแนนเต็มทุกคน)&nbsp;ค่าของ&nbsp;E.I. จะเป็น 1.00&nbsp;เสมอ ซึ่งเป็นไปได้ยาก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1.2 ถ้าผลสอบก่อนเรียนมากกว่าหลังเรียนค่า&nbsp;E.I.&nbsp;จะเป็นลบ ซึ่งต่ำกว่า -1.00&nbsp;ก็ได้&nbsp;ลักษณะเช่นนี้ถือว่าระบบการเรียนการสอนหลังใช้สื่อล้มเหลว&nbsp;และเหตุการณ์เช่นนี้ไม่น่าจะเกิดขึ้น&nbsp;เพราะค่า E.I.&nbsp;ต่ำหรือเป็นลบ&nbsp;แสดงว่าคะแนนหลังสอนต่ำหรือน้อยกว่าคะแนนก่อนสอน และก่อนจะหาค่า&nbsp;E.I.&nbsp;ต้องหาค่า E1/E2&nbsp;มาก่อนค่า E2&nbsp;หรือคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซึ่งจะเป็นค่าเดียวกับคะแนนหลังเรียนของการหาค่า&nbsp;E.I.&nbsp;ดังนั้นหากคะแนนหลังสอนต่ำหรือมากกว่าคะแนนก่อนสอน&nbsp;ค่า&nbsp;E2&nbsp;จะไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนด&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1.3&nbsp;การแปลความหมายของค่า&nbsp;E.I. ไม่น่าจะแปลความหมายเฉพาะค่าที่คำนวณได้ว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการขึ้นเท่าไรหรือคิดเป็นร้อยละเท่าไร&nbsp;แต่ควรจะดูข้อมูลเดิมประกอบด้วยว่า&nbsp;หลังเรียนผู้เรียนมีคะแนนเพิ่มขึ้นเท่าไร&nbsp;ในบางครั้งคะแนนหลังสอนเพิ่มขึ้นน้อย&nbsp;เพราะเป็นว่าผู้เรียนกลุ่มนั้นมีความรู้เดิมในเรื่องนั้นมากอยู่แล้ว&nbsp;ซึ่งมีโอกาสเป็นไปได้ และมักจะเป็นในลักษณะของผู้เรียนกลุ่มเก่ง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">สรุปได้ว่าค่า&nbsp;E.I. ที่เกิดจากผู้เรียนแต่ละกลุ่มไม่สามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้เพราะไม่ได้เริ่มจากฐานของความรู้ที่เท่ากัน ค่า&nbsp;E.I. ของแต่ละกลุ่มก็ควรอธิบายพัฒนาการเฉพาะกลุ่มนั้น</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2.&nbsp;การแปลผล มักจะใช้ความไม่เหมาะสม&nbsp;ทำให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายของ E.I. ผิดจากความเป็นจริง&nbsp;เช่น จากตัวอย่าง E.I.&nbsp; มีค่าเท่ากับ&nbsp; 0.6240&nbsp;ก็มักจะกล่าวว่า &ldquo;ค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ&nbsp;0.6240&nbsp;ซึ่งแสดงว่านักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น&nbsp;ร้อยละ&nbsp;62.40&rdquo;&nbsp;แต่ในความเป็นจริง ค่า E.I.&nbsp;เท่ากับ 0.6240&nbsp;เพราะคิดเทียบจากค่า&nbsp;E.I. สูงสุดเป็น&nbsp;1.00&nbsp;ดังนั้น&nbsp;ถ้าคิดเทียบเป็นร้อยละ ก็คือคิดเทียบจากค่าสูงสุดเป็น 100&nbsp;E.I.&nbsp;จะมีค่า 62.40&nbsp;จึงควรใช้ข้อความว่า &ldquo;ค่าดัชนีประสิทธิผล เท่ากับ&nbsp;0.6420&nbsp;แสดงว่าผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น&nbsp;0.6240&nbsp;หรือคิดเป็นร้อยละ&nbsp;62.40&rdquo;&nbsp;(ไม่ใช่แสดงว่าผู้เรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ&nbsp;62.40)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3.&nbsp;ถ้าค่า&nbsp;E1/E2 ของแผนการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด&nbsp;และเมื่อหา&nbsp;E.I.&nbsp;ด้วย พบว่า&nbsp;มีพัฒนาการเพิ่มขึ้นถึงระดับหนึ่งที่น่าพอใจ&nbsp;การคำนวณค่าความคงทนโดยใช้สูตร t-test (dependent samples) ก็อาจจะให้ผลลัพธ์ที่มีนัยสำคัญหรือไม่มีนัยสำคัญก็ได้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">ดังนั้น ดัชนีประสิทธิผล&nbsp;(E.I.)&nbsp;สามารถนำมาประยุกต์ใช้เพื่อประเมินสื่อหรือนวัตกรรมต่าง&nbsp;ๆ โดยเริ่มจากการทดสอบก่อนเรียนซึ่งเป็นตัววัดว่า&nbsp;ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานอยู่ในระดับใด&nbsp;รวมถึงการวัดทางความเชื่อ เจตคติ และความตั้งใจของผู้เรียน คะแนนที่ได้จากการทดสอบมาแปลงเป็นร้อยละ หาค่าสูงสุดที่เป็นไปได้&nbsp;นำผู้เรียนเข้ารับการทดลอง&nbsp;เสร็จแล้วทำการทดสอบหลังเรียน&nbsp;แล้วนำคะแนนที่ได้มาหาประสิทธิผล&nbsp;โดยนำคะแนนก่อนเรียนไปลบออกจากคะแนนหลังเรียน&nbsp;ได้เท่าไรแล้วหารด้วยค่าที่ได้จากการทดสอบก่อนเรียนสูงสุดที่ผู้เรียนสามารถทำได้&nbsp;ลบด้วยคะแนนทดสอบก่อนเรียน โดยทำให้อยู่ในรูปร้อยละ&nbsp;ดัชนีประสิทธิผล (E.I.)&nbsp;จะมีค่าอยู่ระหว่าง -1.00&nbsp;ถึง&nbsp;1.00&nbsp;หากค่าคะแนนหลังเรียนเท่ากับคะแนนก่อนเรียน ค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับศูนย์ &nbsp;และหากคะแนนหลังเรียนมากกว่าคะแนนก่อนเรียน&nbsp; ค่าดัชนีประสิทธิผลจะมีค่ามากกว่าศูนย์&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><strong>17.2 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล </strong></span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><strong>17.2.1 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ</strong></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การหาคุณภาพของเครื่องมือ คุณภาพบางด้านเมื่อสร้างเครื่องมือเสร็จก็สามารถตรวจสอบได้ทันที เช่น ด้านความเป็นปรนัย เป็นต้น &nbsp;บางด้านจะต้องนำเครื่องมือไปทดลองใช้หรือที่เรียกกันว่า Try out กับกลุ่มนักเรียนที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างก่อน แล้วจึงนำผลมาวิเคราะห์หาค่าคุณภาพ&nbsp;&nbsp;เครื่องมือบางชนิดจำเป็นต้องตรวจสอบคุณภาพทุกด้าน แต่บางชนิดสามารถตรวจสอบเพียงบางด้าน ทั้งนี้ขึ้นกับลักษณะของชนิดเครื่องมือนั้น ๆ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">คุณภาพของเครื่องมือที่จำเป็นต้องตรวจสอบ มี 5 ด้าน ได้แก่</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1.&nbsp;ความเที่ยงตรงหรือความตรง (Validity)เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่วัดในสิ่งที่ต้องการวัด ความเที่ยงตรงแยกย่อยเป็น ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (วัดเนื้อหาสาระ<br /> ได้ครบถ้วนตามหลักสูตรและจุดประสงค์) และ ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (วัดพฤติกรรมและสมรรถภาพด้านต่าง ๆ ได้ตรงตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดตามหลักทฤษฎี)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2.&nbsp;ความเชื่อมั่นหรือความเที่ยง (Reliability)เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่แสดงให้เห็นว่าเครื่องมือนั้น ๆ ให้ผลการวัดที่สม่ำเสมอ คงที่ แน่นอน ไม่ว่าจะวัดกี่ครั้งก็ตาม</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3.&nbsp;ความเป็นปรนัย (Objectivity)เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่มีลักษณะต่าง ๆ ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3.1 คำถามมีความชัดเจน ชี้เฉพาะ อ่านแล้วเข้าใจตรงกัน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3.2 การตรวจให้คะแนนมีความแน่นอน ตรงกันไม่ว่าใครจะตรวจก็ตาม</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3.3 แปลความได้ชัดเจนว่า คะแนนที่ได้มีความสามารถอยู่ในระดับใด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4.&nbsp;ความยากง่าย (Difficulty เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ p)เป็นคุณสมบัติของข้อสอบที่บอกว่าข้อสอบนั้นมีคนทำถูกมากน้อยเพียงใด เครื่องมือที่ดีต้องมีความยากง่ายพอเหมาะ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">5.&nbsp;อำนาจจำแนก (Discrimination เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ r)เป็นคุณสมบัติที่จำแนกกลุ่มเก่งกลุ่มอ่อนออกจากกัน หรือจำแนกความคิดเห็นที่ต่างกันออกเป็นสองกลุ่มได้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><strong>17.2.2 ความหมายและประเภทของการวัดผลและประเมินผล</strong></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การวัดผล (Measurement) คือการกำหนดตัวเลขให้กับวัตถุ สิ่งของ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ หรือพฤติกรรมต่าง ๆ หรืออาจใช้เครื่องมือไปวัดเพื่อให้ได้ตัวเลขแทนคุณลักษณะต่าง ๆ เช่น ใช้ไม้บรรทัดวัดความกว้างของหนังสือได้ 3.5 นิ้ว ใช้เครื่องชั่งวัดน้ำหนักของเนื้อหมูได้ 0.5 กิโลกรัม ใช้แบบทดสอบวัดความรอบรู้ในวิชาภาษาไทยของเด็กชายแดงได้ 42 คะแนน เป็นต้น</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การวัดผลแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. วัดทางตรง วัดคุณลักษณะที่ต้องการโดยตรง เช่น ส่วนสูง น้ำหนัก ฯลฯ มาตราวัดจะอยู่ในระดับ Ratio Scale</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. วัดทางอ้อม วัดคุณลักษณะที่ต้องการโดยตรงไม่ได้ ต้องวัดโดยผ่านกระบวนการทางสมอง เช่น วัดความรู้ วัดเจตคติ วัดบุคลิกภาพ ฯลฯ มาตราวัดจะอยู่ในระดับ Interval Scale การวัดทางอ้อมแบ่งออกเป็น 3 ด้านคือ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2.1 ด้านสติปัญญา (Cognitive Domain) เช่น วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วัดเชาวน์ปัญญา วัดความถนัดทางการเรียน วัดความคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2.2 ด้านความรู้สึก (Affective Domain) เช่น วัดความสนใจ วัดเจตคติ วัดบุคลิกภาพ วัดความวิตกกังวล วัดจริยธรรม ฯลฯ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2.3 ด้านทักษะกลไก (Psychomotor Domain) เช่น การเคลื่อนไหว การปฏิบัติโดยใช้เครื่องมือ ฯลฯ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การนำเอาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากการวัดรวมกับการใช้วิจารณญาณของผู้ประเมินมาใช้ในการตัดสินใจ โดยการเปรียบเทียบกับเกณฑ์ เพื่อให้ได้ผลเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เนื้อหมูชิ้นนี้หนัก 0.5 กิโลกรัมเป็นเนื้อหมูชิ้นที่เบาที่สุดในร้าน (เปรียบเทียบกันภายในกลุ่ม) เด็กชายแดงได้คะแนนวิชาภาษาไทย 42 คะแนนซึ่งไม่ถึง 50 คะแนนถือว่าสอบไม่ผ่าน (ใช้เกณฑ์ที่ครูสร้างขึ้น) เป็นต้น</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การประเมินผลแบ่งได้เป็น 2 ประเภท การประเมินแบบอิงกลุ่มและการประเมินแบบอิงเกณฑ์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. การประเมินแบบอิงกลุ่ม เป็นการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบหรือผลงานของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับบุคคลอื่น ๆ ที่ได้ทำแบบทดสอบเดียวกันหรือได้ทำงานอย่างเดียวกัน นั่นคือเป็นการใช้เพื่อจำแนกหรือจัดลำดับบุคคลในกลุ่ม การประเมินแบบนี้มักใช้กับการ การประเมินเพื่อคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ หรือการสอบชิงทุนต่าง ๆ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. การประเมินแบบอิงเกณฑ์ เป็นการเปรียบเทียบคะแนนจากแบบทดสอบหรือผลงานของบุคคลใดบุคคลหนึ่งกับเกณฑ์หรือจุดมุ่งหมายที่ได้กำหนดไว้ เช่น การประเมินระหว่างการเรียนการสอนว่าผู้เรียนได้บรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ได้กำหนดไว้หรือไม่</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">ข้อแตกต่างระหว่างการประเมินผลแบบอิงกลุ่มและอิงเกณฑ์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">การประเมินผลแบบอิงกลุ่ม</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. เป็นการเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับคะแนนของคนอื่น ๆ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. นิยมใช้ในการสอบแข่งขัน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3. คะแนนจะถูกนำเสนอในรูปของร้อยละหรือคะแนนมาตรฐาน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4. ใช้แบบทดสอบเดียวกันทำหรับผู้เรียนทั้งกลุ่มหรืออาจใช้แบบทดสอบคู่ขนาน เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบกันได้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">5. แบบทดสอบมีความยากง่ายพอเหมาะ มีอำนาจจำแนกสูง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">6. เน้นความเที่ยงตรงทุกชนิด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">การประเมินแบบอิงเกณฑ์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. เป็นการเปรียบเทียบคะแนนที่ได้กับเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. สำหรับการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนหรือเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3. คะแนนจะถูกนำเสนอในรูปของผ่าน-ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4. ไม่ได้เปรียบเทียบกับคนอื่น ๆ จึงไม่จำเป็นต้องใช้แบบทดสอบฉบับเดียวกันกับผู้เรียนทั้งชั้น</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">5. ไม่เน้นความยากง่าย แต่อำนาจจำแนกควรมีพอเหมาะ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">6. เน้นความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">วัตถุประสงค์ของการสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. สอบวัดเพื่อจัดตำแหน่ง (Placement) ใช้การสอบวัดเพื่อให้ได้คำตอบว่า ณ วันเวลาที่สอบนั้น เด็กแต่ละคนมีความรู้ความสามารถ อยู่ตรงระดับไหนของกลุ่ม เพื่อช่วยในการจัดประเภทหรือคัดแยก หรือบรรจุเขาให้ถูกตำแหน่ง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. สอบวัดเพื่อวินิจฉัย (Diagnosis) ใช้การสอบวัดเพื่อตรวจสอบผู้เรียนว่าเก่งหรืออ่อนวิชาใด เนื้อหาใด เพื่อครูจะได้ช่วยเหลือได้ถูกจุด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3. สอบวัดเพื่อเปรียบเทียบ (Assessment) ใช้การสอบวัดเพื่อเปรียบเทียบผู้เรียนว่าได้มีการพัฒนาเพิ่มขึ้นหลังจากผ่านการเรียนการสอนไปแล้วมากน้อยเพียงใด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4. สอบวัดเพื่อพยากรณ์ (Prediction) ใช้การสอบวัดเพื่อพยากรณ์ว่า เด็กคนนั้นคนนี้สามารถเรียนต่ออะไรได้จึงจะเรียนจบ ไม่ถูกออกกลางคัน หรือประกอบอาชีพอะไรจึงจะประสบความสำเร็จ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">5. สอบวัดเพื่อประเมินค่า (Evaluation) ใช้การสอบวัดเพื่อเอาผลที่ได้ไปประเมินหรือสรุปรวมอย่างมีหลักเกณฑ์ว่าหลักสูตร หรือวิธีการสอนของครู สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้มากน้อยเพียงใด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">นอกจากนี้ ครูควรใช้การสอบวัดเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน ต้องถือว่าการสอบเป็นกิจกรรมหนึ่งของนักเรียนเพื่อทราบศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน กลมกลืนไปกับการเรียนการสอน การสอบวัดไม่จำเป็นต้องใช้ข้อสอบเพียงอย่างเดียว อาจจะใช้คำถาม (การสอบปากเปล่า) กับผู้เรียน และถ้าจะให้การเรียนการสอนได้ผลดียิ่งขึ้น ครูควรชี้แจงการตอบของผู้เรียนด้วยว่า ตอบถูกเพราะอะไร ตอบผิดเพราะอะไร จะทำให้ชั่วโมงการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การวัดผลทางอ้อมตามแนวทฤษฎีของ Bloom&#39;s Taxonomy</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>ตารางที่ 6</u>การวัดผลทางอ้อมด้านสติปัญญา (cognitive domain)</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td style="width:136px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ระดับ</span></p> </td> <td style="width:169px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ความหมาย</span></p> </td> <td style="width:129px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">พฤติกรรม</span></p> </td> <td style="width:132px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:136px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ความรู้ (Knowledge)</span></p> </td> <td style="width:169px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ความสามารถในการจำความรู้ต่าง ๆ ที่ได้เรียนรู้มา</span></p> </td> <td style="width:129px;"> <p> <span style="font-size:14px;">สามารถบอกสูตรการหาความเชื่อมั่นได้</span></p> </td> <td style="width:132px;"> <p> <span style="font-size:14px;">นิยาม, จับคู่, เลือก, จำแนก, บอกคุณลักษณะ, บอกชื่อ, ให้แสดงรายชื่อ, บอกความสัมพันธ์, ฯลฯ</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>ตารางที่ 6 (ต่อ)</u>การวัดผลทางอ้อมด้านสติปัญญา (cognitive domain)</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td colspan="2" style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ระดับ</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ความหมาย</span></p> </td> <td colspan="2" style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">พฤติกรรม</span></p> </td> <td colspan="2" style="width:141px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:136px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ความเข้าใจ (Comprehension)</span></p> </td> <td colspan="3" style="width:169px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ความสามารถในการแปลความ ขยายความ และเข้าใจในสิ่งที่ได้เรียนรู้มา</span></p> </td> <td colspan="2" style="width:129px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ทำไม T + E ถึงเท่ากับ O</span></p> </td> <td style="width:132px;"> <p> <span style="font-size:14px;">แปลความหมาย, เปลี่ยนแปลงใหม่, แสดง, ยกตัวอย่าง, อธิบาย, อ้างอิง, แปลความหมาย, สรุป, บอก, รายงาน, บรรยาย, กำหนดขอบเขต, ฯลฯ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:136px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การนำไปใช้ (Application)</span></p> </td> <td colspan="3" style="width:169px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ความสามารถในการใช้สิ่งที่ได้เรียนรู้มาเป็นวัตถุดิบก่อให้เกิดสิ่งใหม่</span></p> </td> <td colspan="2" style="width:129px;"> <p> <span style="font-size:14px;">สามารถสร้างแบบวัดความถนัดได้</span></p> </td> <td style="width:132px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ประยุกต์ใช้, จัดกระทำใหม่, แก้ปัญหา, จัดกลุ่ม, นำไปใช้, เลือก, ทำโครงร่าง, ฝึกหัด, คำนวณ, ฯลฯ</span></p> </td> </tr> <tr> <td colspan="2" style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การวิเคราะห์ (Analysis)</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ความสามารถในการแยกความรู้ออกเป็นส่วนแล้วทำความเข้าใจในแต่ละส่วนว่าสัมพันธ์คือแตกต่างกันอย่างไร</span></p> </td> <td colspan="2" style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">สามารถบอกคุณลักษณะของตัวละครได้</span></p> </td> <td colspan="2" style="width:141px;"> <p> <span style="font-size:14px;">จำแนก, จัดกลุ่ม, เปรียบเทียบ, สรุปย่อ, บอกความแตกต่าง, อธิบาย, วิเคราะห์, แยกส่วน, ทดสอบ, สำรวจ, ตั้งคำถาม, ตรวจสอบ, อภิปราย, ฯลฯ</span></p> </td> </tr> <tr> <td colspan="2" style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การสังเคราะห์ (Synthesis)</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ความสามารถในการรวมความรู้ต่าง ๆ หรือประสบการณ์ต่าง ๆ ให้เกิดเป็นสิ่งแปลกใหม่</span></p> </td> <td colspan="2" style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">สามารถแต่งคำประพันธ์ได้</span></p> </td> <td colspan="2" style="width:141px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การออกแบบ, วางแผน, การแก้ปัญหา, การผลิต, การสร้างสูตร, ฯลฯ</span></p> </td> </tr> <tr> <td colspan="2" style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การประเมินค่า (Evaluation)</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ความสามารถในการตัดสินคุณค่าอย่างมีเหตุมีผล</span></p> </td> <td colspan="2" style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">พฤติกรรมของตัวละครเหมาะสมกับสถานการณ์หรือไม่</span></p> </td> <td colspan="2" style="width:141px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ตั้งราคา, ตัดสินคุณค่า, พิจารณา, สรุป, ประเมิน, ให้น้ำหนัก, กำหนดเกณฑ์, การเปรียบเทียบ, แก้ไข, ปรับปรุง, ให้คะแนน</span></p> </td> </tr> <tr height="0"> <td> &nbsp;</td> <td> &nbsp;</td> <td> &nbsp;</td> <td> &nbsp;</td> <td> &nbsp;</td> <td> &nbsp;</td> <td> &nbsp;</td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>ตารางที่ 7</u>การวัดผลทางอ้อมด้านความรู้สึก (affective domain)</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ระดับ</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ความหมาย</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">พฤติกรรม</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การรับรู้ (Receive)</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">มีความตั้งใจสนใจในสิ่งเร้า</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">นักเรียนตั้งใจอบรมในเรื่องของความปลอดภัย</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การยอมรับ, เลือก, ถาม, ฟัง, ตั้งใจ, ฯลฯ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การตอบสนอง (Respond)</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึ้น</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">นักเรียนร่วมเล่นเกมซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการอบรม</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การส่งเสริม, การบอก, สนับสนุน, อาสาสมัคร, เล่าเรื่อง, ช่วยเหลือ ฯลฯ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เห็นคุณค่า (Value)</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เห็นคุณค่าในสิ่งที่กระทำ รู้สึกซาบซึ้งยินดีและมีเจตคติที่ดีต่อสิ่งนั้น</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">นักเรียนเห็นประโยชน์ของความปลอดภัย</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เลือก, แบ่งปัน, สนับสนุน, เห็นคุณค่า, ซาบซึ้ง, ร่วมสนุก, ฯลฯ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การจัดระบบ (Organize)</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การเห็นความแตกต่างในคุณค่า, การแก้ไขความขัดแย้งของสิ่งที่เกิดขึ้นกับสิ่งที่อยู่ภายใน, การสร้างปรัชญาหรือเป้าหมายให้กับตนเอง</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อนักเรียนอยู่ในสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย สามารถใช้ความรู้และทักษะที่ได้ฝึกฝนและอบรมมา</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การป้องกัน, สรุปความ, ความสัมพันธ์, เรียงอันดับ, ทำให้เป็นระบบ ฯลฯ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">บุคลิกภาพ (Characterize)</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การทำให้เป็นคุณลักษณะหนึ่งของชีวิต</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">นักเรียนเป็นบุคคลที่มีความระมัดระวังในเรื่องของความปลอดภัยตลอดเวลา</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การจำแนก, การประพฤติตน, ความสมบูรณ์, การปฏิบัติ, การตรวจสอบ ฯลฯ</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>ตารางที่ 8</u>การวัดผลทางอ้อมด้านทักษะกลไก (psychomotor domain)</span></p> <table border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ระดับ</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ความหมาย</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">พฤติกรรม</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การเลียนแบบ (Imitation)</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">สามารถที่จะสังเกตและทำตาม</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ดูการขี่จักรยานและลองทำตาม</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การดู, การทำตาม, ฯลฯ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การลงมือปฏิบัติ (Manipulation)</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เน้นทักษะที่สามารถทำได้</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ฝึกหัดขี่จักรยาน</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การจัดกระทำ, การปฏิบัติ ฯลฯ</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>ตารางที่ 8 (ต่อ)</u>การวัดผลทางอ้อมด้านทักษะกลไก (psychomotor domain)</span></p> <table border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ระดับ</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ความหมาย</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">พฤติกรรม</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ความถูกต้อง (Precision)</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เน้นความถูกต้องในการแสดงพฤติกรรมและควบคุมและลดความผิดพลาด</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">สามารถขี่จักรยานทรงตัวได้โดยไม่ล้ม</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การปฏิบัติ, ทักษะที่ถูกต้อง, ฯลฯ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ความชัดเจนในการปฏิบัติ (Articulation)</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เน้นถึงการเรียนรู้วิธีการถูกต้องตามขั้นตอนที่มี</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">สามารถขึ้นจักรยาน ขี่จักรยานและหยุดจักรยานได้อย่างถูกวิธี</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การปฏิบัติตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ฯลฯ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ความเป็นธรรมชาติ (Naturalization)</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การแสดงพฤติกรรมเป็นประจำ เป็นอัตโนมัติ จนกลายเป็นธรรมชาติ</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">สามารถขึ้นจักรยาน ขี่จักรยาน และหยุดจักรยานได้อย่างเป็นปกติปราศจากข้อผิดพลาดต่าง ๆ</span></p> </td> <td style="width:142px;"> <p> <span style="font-size:14px;">การปฏิบัติจนเป็นนิสัย การทำให้เป็นลักษณะนิสัยส่วนตัว ฯลฯ</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><strong>17.2.3 แบบทดสอบหรือข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์</strong></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึงแบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ความสามารถของบุคคล ซึ่งเป็นผลจากการเรียนรู้ในเนื้อหาสาระและตามจุดประสงค์ของวิชาหรือเนื้อหานั้น ๆ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1.&nbsp;แบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ สร้างขึ้นตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม&nbsp; วัดตรงตามจุดประสงค์ มีคะแนนเกณฑ์ตัดสินว่าผู้สอบมีความรู้ตามเกณฑ์ที่กำหนดหรือไม่</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2.&nbsp;แบบทดสอบแบบอิงกลุ่ม&nbsp;สร้างขึ้นตามตารางวิเคราะห์หลักสูตร สามารถจำแนกผู้สอบตามความเก่ง/อ่อนได้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การหาคุณภาพของแบบทดสอบ คือ หลังจากเขียนและตรวจทานข้อสอบแล้วจะนำไปให้ ผู้เชี่ยวชาญไม่ต่ำกว่า 3 คนพิจารณาความตรงเชิงเนื้อหา คือพิจารณาว่าข้อสอบแต่ละข้อตรงตามจุดประสงค์หรือไม่ อาจใช้วิธีการของ Rovinelli และ Hambleton&nbsp;หรือวิธีการหา IOC (Index&nbsp;of&nbsp;Item - Objective&nbsp;Congruence หรือ Index of Consistency)ก็ได้&nbsp;จากนั้นนำไปทดลองใช้กับกลุ่มทดลองก่อนแล้วนำมาหาค่าความยากง่าย (p) และหาอำนาจจำแนก (r) ซึ่งอาจคำนวณด้วยการใช้สูตร หรือโปรแกรมสำเร็จรูปก็ได้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. หาความเที่ยงตรง(หรือความตรง)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">-&nbsp; ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา เรื่องนี้ถ้าหากว่าเราออกข้อสอบตามตารางวิเคราะห์เนื้อหาของเราก็ถือได้ว่ามีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาแล้ว</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">-&nbsp; ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง มีวิธีหาอยู่หลายวิธี ได้แก่ ใช้การพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์ระหว่างคะแนนของแบบทดสอบนั้นกับแบบทดสอบมาตรฐานที่วัดในเรื่องเดียวกันซึ่งมีผู้จัดทำไว้แล้ว อีกวิธีหนึ่งซึ่งสะดวกกว่า คือการให้ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้น ๆ พิจารณา (ในบางตำราเรียกวิธี Face validity)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. หาความเชื่อมั่น(หรือความเที่ยง)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การหาความเชื่อมั่นมีหลายวิธีการ (ซึ่งล้วนแล้วต้องใช้สูตรในการคำนวณทั้งสิ้น) เช่น&nbsp;การสอบซ้ำ&nbsp;การใช้แบบทดสอบคู่ขนาน&nbsp;การแบ่งครึ่งแบบทดสอบ(ข้อคู่ข้อคี่)&nbsp;และวิธีการที่นิยมกันคือแบบของ Kuder-Richardson</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">นอกจากนี้ถ้าเป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ มีสิ่งที่ต้องคำนึงถึงอีกคือ แบบทดสอบนั้นต้องมีความยุติธรรม ผู้เรียนแต่ละคนต้องไม่ได้เปรียบเสียเปรียบกัน&nbsp;ใช้คำถามลึก วัดความสมรรถภาพทุกระดับ (รู้-จำ-เข้าใจ-นำไปใช้-วิเคราะห์-สังเคราะห์-ประเมินค่า) และคำถามยั่วยุ น่าสนใจ ท้าทายให้อยากตอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><strong>17.2.3.1 การหาค่าความเที่ยงตรงของแบบทดสอบ</strong></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์อิงเกณฑ์ ควรพิจารณาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content validity) และความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (construct validity) การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์อิงเกณฑ์จะต้องสร้างตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ซึ่งจะทำให้มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา วิธีการตรวจสอบว่าแต่ละข้อมีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาหรือไม่ ก็โดยนำเอาจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมและข้อสอบไปให้ผู้เชี่ยวชาญตัดสิน การวิเคราะห์หาความเที่ยงตรงตามเนื้อหาและความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม โดยการนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาให้คะแนนความสอดคล้องของข้อสอบ แต่ละข้อกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม แล้วนำมาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) โดยใช้สูตรดังนี้ (กรมวิชาการ, 2545)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร <img height="45" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image014.gif" width="84" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ&nbsp; IOC&nbsp;&nbsp; แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับวัตถุประสงค์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; R&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน คะแนนของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; SR&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน ผลรวมของคะแนนผู้เชี่ยวชาญแต่ละคน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; N&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน จำนวนผู้เชี่ยวชาญ</span></p> <p> &nbsp;</p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">การกำหนดคะแนนของผู้เชี่ยวชาญอาจจะเป็น +1 หรือ 0 หรือ &ndash;1 ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">+1 = แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ระบุไว้จริง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; 0 = ไม่แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นวัดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ระบุไว้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">-1 = แน่ใจว่าข้อสอบข้อนั้นไม่ได้วัดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ระบุไว้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ค่าดัชนีความสอดคล้องที่ยอมรับได้ต้องมีค่าตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">หลังจากผู้เชี่ยวชาญพิจารณาเสร็จแล้ว นำมาหาค่าเฉลี่ยแล้วเทียบกับเกณฑ์ ดังนี้</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td style="width:155px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ค่าเฉลี่ย</u></span></p> </td> <td style="width:333px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ความหมาย</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:155px;"> <p> <span style="font-size:14px;">มากกว่าหรือเท่ากับ 0.5</span></p> </td> <td style="width:333px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เป็นข้อสอบที่มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา เพราะวัดตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องการจริง</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:155px;"> <p> <span style="font-size:14px;">น้อยกว่า 0.5</span></p> </td> <td style="width:333px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เป็นข้อสอบที่ต้องตัดทิ้งหรือแก้ไข เพราะไม่ได้วัดตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ต้องการ</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><strong>17.2.3.2 การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบหรือข้อสอบแบบเลือกตอบ</strong><strong>(Multiple Choice Item) </strong></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบจะให้ดีและถูกต้อง จะต้องตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบเป็นรายข้อและตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบทั้งฉบับ (ชวาล,2516: 10-11) โดยการตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบเป็นรายข้อมีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบคุณภาพ 2 ประการคือ ความยากของข้อสอบ (difficulty) และอำนาจจำแนกของข้อสอบ (discrimination) ส่วนการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบทั้งฉบับ มีจุดมุ่งหมายเพื่อหาคุณภาพ 2 ประการ คือ ความเที่ยงตรง (validity) และความเชื่อมั่น (reliability)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบ หรือการวิเคราะห์ข้อสอบ หมายถึง การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบว่ามีคุณภาพดีเพียงใด หลังจากที่นำแบบทดสอบไปทดสอบและตรวจให้คะแนนแล้ว การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบ จะช่วยในการปรับปรุงเทคนิคการสอนของครู ช่วยให้ครูสามารถค้นหาข้อบกพร่องต่าง ๆ ในการเรียนของนักเรียน โดยพิจารณาว่าผู้เรียนยังอ่อนในเนื้อหาส่วนใด และยังมีเนื้อหาในส่วนใดบ้างที่ครูต้องสอนซ่อมเสริม (อนันต์, 2525: 185) นอกจากนี้ การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบยังช่วยประหยัดเวลาในการสร้างข้อสอบที่ดีขึ้นใหม่อีกด้วย การวิเคราะห์ข้อสอบแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ การวิเคราะห์ข้อสอบตามแนวคิดอิงกลุ่ม และการวิเคราะห์ข้อสอบตามแนวคิดอิงเกณฑ์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><strong>&nbsp;1) การวิเคราะห์ข้อสอบตามแนวคิดอิงกลุ่ม </strong></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การประเมินผลตามแนวคิดอิงกลุ่ม เป็นการเปรียบเทียบความสามารถของผู้เรียนในกลุ่ม เพื่อดูว่าใครเก่ง-อ่อนกว่ากัน ดังนั้น ลักษณะที่สำคัญของข้อสอบจะต้องคำนึงถึงความยาก (difficulty) และอำนาจจำแนก (discrimination) โดยพยายามเลือกข้อสอบที่มีค่าความยากพอเหมาะ และสามารถจำแนกผู้สอบได้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. <u>ความยากของข้อสอบ (Difficulty: p</u>) หมายถึง สัดส่วนของจำนวนผู้ที่ทำข้อสอบข้อนั้นถูกกับจำนวนคนทั้งหมด ซึ่งมีสูตร ดังนี้</span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร <img height="41" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image016.gif" width="48" /></span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;กรณีใช้กับตัวถูก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ P แทน ค่าความยากของข้อสอบรายข้อ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; R แทน จำนวนผู้ที่ทำข้อสอบข้อนั้นถูก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; N แทน จำนวนคนทั้งหมด</span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">คุณสมบัติของความยาก (P) มีดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. ค่าความยากมีค่าตั้งแต่ .00 ถึง 1.00</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. ถ้าค่าความยากของตัวถูกมีค่าสูง แสดงว่าข้อสอบง่าย หรือมีคนทำถูกมาก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3. ถ้าค่าความยากของตัวถูกมีค่าต่ำ แสดงว่าข้อสอบยาก หรือมีคนทำถูกน้อย</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4. ค่าความยากที่ดีสำหรับตัวถูกมีค่าอยู่ระหว่าง .20 ถึง .80 ส่วนตัวลวงมีค่าอยู่ระหว่าง .05 ถึง .50</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">5. เกณฑ์ในการพิจารณาความยากแบบทุกตัวเลือกมี ดังนี้ (สมนึก, 2537: 151- 152)</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td style="width:168px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;<u>ค่า </u><u>P ตัวถูก</u></span></p> </td> <td style="width:180px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ค่า </u><u>P ตัวลวง</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:168px;"> <p> <span style="font-size:14px;">.00 ถึง .09 ยากมาก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.10 ถึง .19 ยาก</span></p> </td> <td style="width:180px;"> <p> <span style="font-size:14px;">.00 ถึง .04 ใช้ไม่ได้</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:168px;"> <p> <span style="font-size:14px;">.20 ถึง .39 ค่อนข้างยาก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.40 ถึง .60 ปานกลาง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.61 ถึง .80 ค่อนข้างง่าย</span></p> </td> <td style="width:180px;"> <p> <span style="font-size:14px;">.05 ถึง .09 พอใช้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.10 ถึง .30 ใช้ได้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.31 ถึง .50 พอใช้</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:168px;"> <p> <span style="font-size:14px;">.81 ถึง .90 ง่าย</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.91 ถึง 1.00 ง่ายมาก</span></p> </td> <td style="width:180px;"> <p> <span style="font-size:14px;">.51 ถึง 1.00 ใช้ไม่ได้</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> <span style="font-size:14px;">2. <u>อำนาจจำแนกของข้อสอบ (Discrimination = r)</u> หมายถึง ประสิทธิภาพของข้อสอบในการจำแนกเด็กออกเป็นกลุ่มเก่งและกลุ่มอ่อน หรือกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ เขียนเป็นสูตรได้ ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><img height="41" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image018.gif" width="91" />&nbsp;หรือ &nbsp;<img height="41" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image020.gif" width="91" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ &nbsp;&nbsp;RH, RL &nbsp;แทน จำนวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; NH, NLแทน จำนวนคนในกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; N &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แทน จำนวนคนทั้งหมด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;คุณสมบัติของค่าอำนาจจำแนก (r) มีดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. ค่าอำนาจจำแนกมีค่าตั้งแต่ -1.00 ถึง 1.00</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. ถ้าค่าอำนาจจำแนกสูง แสดงว่าข้อสอบมีอำนาจจำแนกสูง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3. ถ้าค่าอำนาจจำแนกต่ำ หรือเป็นศูนย์ แสดงว่าข้อสอบไม่มีอำนาจ จำแนก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4. ค่าอำนาจจำแนกที่ดีของตัวถูกมีค่าอยู่ระหว่าง .20 ถึง 1.00 ส่วนตัวลวงมีค่าอยู่ระหว่าง .05 ถึง .50</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">5. ในกรณีที่พิจารณาค่าอำนาจจำแนกทั้งตัวถูกและตัวลวงมีเกณฑ์ ดังนี้ (สมนึก, 2537: 151-152)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td style="width:168px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">&nbsp;<u>ค่า r ตัวถูก</u></span></p> </td> <td style="width:144px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ค่า </u><u>r ตัวลวง</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:168px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ค่าลบ ใช้ไม่ได้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.00 ไม่มีอำนาจจำแนก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.01 ถึง .09 ต่ำ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.10 ถึง .19 ค่อนข้างต่ำ</span></p> </td> <td style="width:144px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ค่าลบ ใช้ไม่ได้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.00 ถึง .04 ใช้ไม่ได้</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:168px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">&nbsp;<u>ค่า r ตัวถูก</u></span></p> </td> <td style="width:144px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ค่า </u><u>r ตัวลวง</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:168px;"> <p> <span style="font-size:14px;">.20 ถึง .29 ค่อนข้างสูง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.30 ถึง .50 สูง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.51 ถึง 1.00 สูงมาก</span></p> </td> <td style="width:144px;"> <p> <span style="font-size:14px;">.05 ถึง .09 พอใช้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.10 ถึง .30 ใช้ได้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">.31 ถึง .50 พอใช้</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:168px;"> <p> &nbsp;</p> </td> <td style="width:144px;"> <p> <span style="font-size:14px;">.51 ถึง 1.00 ใช้ไม่ได้</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> <span style="font-size:14px;">วิธีวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อ มีขั้นตอนดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. นำข้อสอบที่สร้างขึ้นตามตารางวิเคราะห์หลักสูตรไปสอบกับนักเรียน สมมติว่าไปทดสอบกับนักเรียน 30 คน แล้วนำมาตรวจให้คะแนน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. เรียงกระดาษคำตอบจากคะแนนสูงไปหาคะแนนต่ำ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3. ใช้เทคนิค 27 % (อาจใช้เทคนิค 25% ถึง 50 %ก็ได้ โดยยึดหลักว่า ถ้าจำนวนคนที่สอบมีน้อยให้ใช้เปอร์เซ็นต์สูง แต่ถ้ามีคนเข้าสอบมาก ๆ ให้ใช้เปอร์เซ็นต์ต่ำ โดยไม่ต่ำกว่า 25%) วิธีการหากลุ่มสูง ให้เอา 27/100คูณจำนวนคนทั้งหมดที่เข้าสอบ เช่น คนสอบ 30 คนจะได้กลุ่มสูงเท่ากับ 27/100 x 30 = 8.10 ประมาณ 8 คน ส่วนการหากลุ่มต่ำก็ใช้วิธีการเช่นเดียวกัน คือได้จำนวน 8 คน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4. นับจำนวนกระดาษเรียงคะแนนสูงสุดลงมา 27% ของผู้เข้าสอบคือประมาณ 8 คน เรียกว่ากลุ่มสูง (high group) ใช้สัญลักษณ์ ส หรือ H และเรียงกระดาษคำตอบจากคะแนนต่ำสุด 27% คือประมาณ 8 คน เรียกว่ากลุ่มต่ำ (low group) ใช้สัญลักษณ์ ต หรือ L</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">5. นำกระดาษในกลุ่มสูง (H1-H8) ไปลงรอยขีด (tally) ในแบบฟอร์ม</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">6. ส่วนกลุ่มต่ำให้ทำในทำนองเดียวกันกับกลุ่มสูง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3. <u>ความเชื่อมั่น (Reliability) หรือความเที่ยง (Validity)ของข้อสอบ</u>ความเชื่อมั่น เป็นค่าที่บ่งชี้ความคงที่แน่นอนของข้อสอบ ข้อสอบที่มีความเชื่อมั่น 1.00 หมายความว่า ข้อสอบมีความเชื่อมั่น 100% ไม่ว่าจะสอบเมื่อใดก็ตาม (ผู้สอบกลุ่มเดิม) ผู้สอบที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ก็ยังคงไม่ผ่านเกณฑ์และผู้สอบที่ผ่านเกณฑ์ ก็ยังคงผ่านเกณฑ์อยู่เหมือนเดิม (ไม่มีการสอนซ่อมเสริมก่อนสอบครั้งที่ 2 หรือครั้งที่ 3)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ (ค่า r<sub>tt</sub> และ ค่า r<sub>cc</sub>) ผลการวิเคราะห์ 2 ค่านี้ มีความหมายว่า ข้อสอบนี้มีความเชื่อมั่นอยู่ในระดับใด ซึ่งจะมีค่า อยู่ระหว่าง 0.00 ถึง 1.00</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ค่า r<sub>tt</sub> เป็นค่าความเชื่อมั่น กรณีที่วิเคราะห์แบบอิงกลุ่ม</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ค่า r<sub>cc</sub> เป็นค่าความเชื่อมั่น กรณีที่วิเคราะห์แบบอิงเกณฑ์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">สังเกตว่าค่าของความแปรปรวน สัมประสิทธิ์แอลฟา และสัมประสิทธิ์ความเที่ยงตรงจะถูกประมาณค่าจากดัชนีความเชื่อมั่นของข้อสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">ความเที่ยง หมายถึง ความคงที่ของคะแนนที่วัดได้แต่ละครั้ง การตรวจสอบความเที่ยงมีได้หลายแนวทางได้แก่</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3.1 การหาความเที่ยงเชิงความคงที่ (Stability) ทำได้โดยใช้วิธีวัดซ้ำ คือให้ผู้ตอบกลุ่มเดียวทำแบบวัดชุดเดียวกันสองครั้งในเวลาห่างกันพอสมควร แล้วนำคะแนนทั้งสองชุดมาหาความสัมพันธ์กัน ถ้าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าสูงแสดงว่ามีความเที่ยงสูง การวัดความคงที่โดยการวัดซ้ำสามารถใช้ได้กับเครื่องมือวัดที่เป็นแบบทดสอบ แบบสอบถามหรือแบบวัดเจตคติชนิดมาตราส่วนประมาณค่า โดยคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย (pearson product moment correlation coefficient) ดังนี้ (ชูศรี, 2541)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><img height="59" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image022.gif" width="296" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; r<sub>xy</sub>&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;&nbsp;&nbsp;ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ในที่นี้คือค่าความเที่ยง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">N&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; = &nbsp;&nbsp;&nbsp;จำนวนผู้สอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">SXY&nbsp;&nbsp; = &nbsp;&nbsp;ผลบวกของผลคูณคะแนนครั้งแรกและครั้งที่สองเป็นคู่ ๆ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">SX&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; = &nbsp;&nbsp;&nbsp;ผลบวกของคะแนนการสอบครั้งแรก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">SY&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; = &nbsp;&nbsp;&nbsp;ผลบวกของคะแนนการสอบครั้งที่สอง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">X<sup>2</sup>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; =&nbsp;&nbsp;&nbsp; กำลังสองของคะแนนครั้งแรก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">Y<sup>2 </sup>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;&nbsp;&nbsp;กำลังสองของคะแนนครั้งที่สอง</span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">การแปลความหมายค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ r เข้าใกล้ 1.00 สูงกว่า 0.90 มีความสัมพันธ์ในระดับสูงมาก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ประมาณ 0.70 &ndash; 0.90 มีความสัมพันธ์ในระดับสูง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ r เข้าใกล้ 0.50 ประมาณ 0.30 &ndash; 0.70 มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ r เข้าใกล้ 0.00 ประมาณ 0.30 และต่ำกว่า มีความสัมพันธ์ในระดับต่ำ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ถ้าค่า r เป็น 0.00 แสดงว่าไม่มีความสัมพันธ์กัน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เครื่องหมาย + แสดงว่ามีความสัมพันธ์ทางบวก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เครื่องหมาย - แสดงว่ามีความสัมพันธ์ทางลบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3.2 การหาความเที่ยงเชิงความเท่าเทียมกัน (Equivalence) ทำได้โดยวิธีใช้แบบทดสอบคู่ขนาน (parallel-form)&nbsp;ไปทดสอบพร้อมกันหรือเวลาใกล้เคียงกันสองฉบับกับกลุ่มเดียวกันแล้วนำคะแนนทั้งสองชุดมาหาความสัมพันธ์กัน ถ้าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่าสูง แสดงว่ามีความเที่ยงสูง คำนวณ โดยหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย (pearson product moment correlation coefficient) ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;<img height="59" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image022.gif" width="296" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; r<sub>xy</sub>&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;&nbsp;&nbsp;ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ในที่นี้คือค่าความเที่ยง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">N&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;= &nbsp;&nbsp;&nbsp;จำนวนผู้สอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">SXY&nbsp;&nbsp; = &nbsp;&nbsp;ผลบวกของผลคูณคะแนนจากแบบสอบชุด X และ Y แต่ละคู่</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">SX&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; = &nbsp;&nbsp;&nbsp;ผลบวกของคะแนนชุด X</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">SY&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; = &nbsp;&nbsp;&nbsp;ผลบวกของคะแนนชุด Y</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">X<sup>2</sup>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; =&nbsp;&nbsp;&nbsp; กำลังสองของคะแนน X</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">Y<sup>2 </sup>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;&nbsp;&nbsp;กำลังสองของคะแนน Y</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ในที่นี้ X และ Y เป็นแบบสอบที่คู่ขนานกัน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3.3 การหาความเที่ยงเชิงความสอดคล้องภายใน (Internal Consistency) เป็นวิธีที่ใช้การวัดครั้งเดียวและมีวิธีประมาณค่าความเที่ยงได้หลายวิธี คือ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;3.3.1 วิธีแบ่งครึ่ง (Split-Half Method) วิธีนี้ใช้แบบวัดเพียงฉบับเดียวทำการวัดครั้งเดียว แต่แบ่งตรวจเป็นสองส่วนที่เท่าเทียมกัน เช่น แบ่งเป็นชุดข้อคู่กับข้อคี่ หรือแบ่งครึ่งแรกกับครึ่งหลังทั้งนี้ต้องวางแผนสร้างให้สองส่วนคู่ขนานกันก่อน วิธีวิเคราะห์ค่าความเที่ยงโดยหาค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์อย่างง่ายระหว่างคะแนนทั้งสองครึ่งก่อนดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><img height="59" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image022.gif" width="296" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ r<sub>xy</sub>&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp; = &nbsp;&nbsp;&nbsp;ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ในที่นี้คือค่าความเที่ยง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">N&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;= &nbsp;&nbsp;&nbsp;จำนวนผู้สอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">SXY&nbsp; = &nbsp;&nbsp;ผลบวกของผลคูณคะแนนแต่ละคู่ X และ Y</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">SX&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; = &nbsp;&nbsp;&nbsp;ผลบวกของคะแนนชุด X</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">SY&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; = &nbsp;&nbsp;&nbsp;ผลบวกของคะแนนชุด Y</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">X<sup>2</sup>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; =&nbsp;&nbsp;&nbsp; กำลังสองของคะแนน X</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">Y<sup>2 </sup>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;= &nbsp;&nbsp;&nbsp;กำลังสองของคะแนน Y</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;ในที่นี้กำหนดให้ X &nbsp;เป็นคะแนนข้อคู่หรือครึ่งแรกแล้วแต่กรณี</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;Y &nbsp;เป็นคะแนนข้อคี่หรือครึ่งหลังแล้วแต่กรณี</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">r<sub>xy</sub>ที่ได้เป็น r<sub>hh</sub>คือ สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนครึ่งฉบับกับอีกครึ่งฉบับแล้วปรับขยายเป็นสหสัมพันธ์ทั้งฉบับด้วยสูตรของ Spearman Brown ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">r<sub>tt</sub> = 2r<sub>hh</sub>/(1+r<sub>tt</sub>)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3.3.2 วิธีของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน (Kuder-Richardson) เป็นวิธีที่ทำการวัดเพียงครั้งเดียวแล้วนำคะแนนมาวิเคราะห์โดยใช้สูตรของ Kuder-Richardson ซึ่งมี 2 สูตรคือ KR-20 และ KR-21 ซึ่งสูตร KR-20 ใช้กับเครื่องมือที่มีการให้คะแนนแบบผิดให้ 0 ถูกให้ 1 และต้องทราบผลการตอบรายข้อ การคำนวณ KR-20 มีสูตร ดังนี้ (วาโร, 2551: 239-241)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<img height="53" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image024.gif" width="143" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;เมื่อ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;r<sub>tt </sub>&nbsp;&nbsp;&nbsp;แทน&nbsp; ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;k &nbsp;แทน จำนวนข้อสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;p&nbsp; &nbsp;แทน สัดส่วนของคนตอบถูกในแต่ละข้อ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;q &nbsp; แทน สัดส่วนของคนตอบถูกในแต่ละข้อ หรือ 1-p</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; S<sub>t</sub><sup>2</sup>แทน ค่าความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ส่วนสูตร KR-21ใช้ได้กับเครื่องมือที่ให้คะแนนแบบ 0-1 และข้อสอบทุกข้อต้องยากเท่ากัน หรืออนุโลมให้ใกล้เคียงกัน โดยมีสูตรดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร &nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;<img height="53" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image026.gif" width="172" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;เมื่อ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;r<sub>tt </sub>&nbsp;&nbsp;&nbsp;แทน&nbsp; ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;k &nbsp;แทน&nbsp; จำนวนข้อสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="20" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image027.gif" width="30" />แทน&nbsp; ค่าเฉลี่ยของแบบทดสอบฉบับนั้น</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; S<sub>t</sub><sup>2</sup>แทน&nbsp; ค่าความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">วิธีการหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ โดยคำนวณจากสูตรของ Kuder-Richardson นี้สูตร KR-21 จะคำนวณสะดวกกว่าสูตร KR-20 เพราะไม่ต้องหาสัดส่วนของคนทำถูกและคนทำผิดของแต่ละข้อ แต่จะเกิดความคลาดเคลื่อนสูงกว่า ส่วนสูตร KR-20 มีความคลาดเคลื่อนน้อยกว่า เพราะข้อสอบแต่ละข้อจะมีความยากง่ายไม่เท่ากันเป็นส่วนใหญ่</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3.3.3 วิธีการหาด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (alpha coefficient) ของ Cronbach วิธีนี้เป็นการหาความเที่ยงแบบ ความสอดคล้องภายในเหมือนกับวิธีของ Kuder-Richardson แต่จะใช้ได้กับเครื่องมือที่เป็นแบบอัตนัยหรือมาตราส่วนประมาณค่า ซึ่งไม่ได้มีการให้คะแนนแบบ 0 - 1 มีสูตรในการคำนวณ ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;<img height="56" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image029.gif" width="141" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; a&nbsp;&nbsp; แทน&nbsp; ค่าความเที่ยงของเครื่องมือ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp; k&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน&nbsp; จำนวนข้อของเครื่องมือ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; S<sub>i</sub><sup>2</sup>&nbsp; แทน&nbsp; ค่าความแปรปรวนของคะแนนแต่ละข้อ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; S<sub>t</sub><sup>2</sup>&nbsp; แทน&nbsp; ค่าความแปรปรวนของคะแนนทั้งฉบับ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ซึ่งการหาค่าความเที่ยงด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของ Cronbach จะได้ค่าความเที่ยงเท่ากับการหาด้วยสูตร KR-20 ทุกประการ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><strong>2) การวิเคราะห์และพัฒนาคุณภาพแบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์</strong></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การวิเคราะห์แบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ ที่จะนำมาวิเคราะห์ต้องเป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ ที่มีวิธีให้คะแนน 1 คะแนน สำหรับคำตอบที่ถูกต้อง และ 0 คะแนน สำหรับคำตอบที่ผิด มีวิธีการวิเคราะห์แบบทดสอบหลายวิธี ดังนี้ (บุญชม, 2545)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. <u>การหาค่าความยากง่ายของแบบทดสอบ</u></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">ระดับความยาก (difficulty) ของข้อสอบอิงเกณฑ์มีความหมายเช่นเดียวกันกับกรณีข้อสอบอิงกลุ่ม กล่าวคือเป็นค่าแสดงถึงร้อยละหรือสัดส่วนของผู้ที่ตอบข้อสอบนั้นถูก หรือที่เลือกตอบคำตอบนั้น เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ p ระดับความยาก มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 100 หรือ .00 หรือ 1.00 (กรณีใช้ระบบสัดส่วน) ค่าของความยากหรือ p ที่อยู่ในเกณฑ์เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง 0.20 ถึง 0.80 ซึ่งไม่ยากเกินไปหรือง่ายเกินไป สำหรับการหาค่าระดับความยาก คำนวณได้จากสูตร ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร &nbsp;P = R/N</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ P แทน ค่าความยากของข้อสอบแต่ละข้อ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; R แทน จำนวนผู้ตอบถูกในแต่ละข้อ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; N แทน จำนวนผู้เข้าสอบทั้งหมด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. <u>การหาค่าอำนาจจำแนกของแบบทดสอบ</u></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">อำนาจจำแนกของข้อสอบอิงเกณฑ์ขึ้นอยู่กับค่าอำนาจจำแนก ในที่นี้ จะกล่าวถึงวิธีหาค่าอำนาจจำแนก 2 วิธี ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2.1 วิธีของเบรนแนน (Brennan) อำนาจจำแนกของข้อสอบอิงเกณฑ์ตามวิธีของเบรนแนน หมายถึง ประสิทธิภาพในการจำแนกผู้สอบออกเป็นผู้รอบรู้หรือสอบผ่าน กับผู้ที่ไม่รอบรู้หรือสอบไม่ผ่าน เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ &ldquo;B&rdquo; และตั้งชื่อว่า &ldquo;ดัชนีบี (discrimination index B หรือ B-index)&rdquo; คำนวณโดยใช้สูตรดังนี้ (วาโร เพ็งสวัสดิ์, 2551: 243)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><img height="42" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image031.gif" width="84" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;เมื่อ&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;B &nbsp;&nbsp;แทน ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">U&nbsp;แทน จำนวนคนทำข้อสอบนั้นถูกของกลุ่มที่ผ่านเกณฑ์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">L&nbsp;แทน จำนวนคนทำข้อสอบนั้นถูกของกลุ่มที่ไม่ผ่านเกณฑ์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">N<sub>1</sub>แทน จำนวนคนที่สอบผ่านเกณฑ์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">N<sub>2</sub>แทน จำนวนคนที่สอบไม่ผ่านเกณฑ์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">การแปลความหมายค่า B&ndash;index</span></p> <p> &nbsp;</p> <p> &nbsp;</p> <p> &nbsp;</p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td style="width:155px;"> <p> <span style="font-size:14px;"><u>ค่า </u><u>B-index</u></span></p> </td> <td style="width:348px;"> <p> <span style="font-size:14px;"><u>หมายความว่าข้อสอบนั้นสามารถ</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:155px;"> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; + 1.00</span></p> </td> <td style="width:348px;"> <p> <span style="font-size:14px;">บ่งชี้ผู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องทุกคน</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:155px;"> <p> <span style="font-size:14px;">0.50 ถึง 0.99</span></p> </td> <td style="width:348px;"> <p> <span style="font-size:14px;">บ่งชี้ผู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:155px;"> <p> <span style="font-size:14px;">0.20 ถึง 0.49</span></p> </td> <td style="width:348px;"> <p> <span style="font-size:14px;">บ่งชี้ผู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องเป็นบางส่วน</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:155px;"> <p> <span style="font-size:14px;">0.00 ถึง 0.19</span></p> </td> <td style="width:348px;"> <p> <span style="font-size:14px;">บ่งชี้ผู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ได้ถูกต้องน้อยมาก หรือไม่ถูกต้อง</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:155px;"> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp; ติดลบ</span></p> </td> <td style="width:348px;"> <p> <span style="font-size:14px;">บ่งชี้ผู้รอบรู้-ไม่รอบรู้ ผิดพลาด หรือตรงข้ามกับความจริง</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">ข้อสอบที่มีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป เป็นข้อสอบที่เข้าเกณฑ์ สามารถนำไปใช้ได้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2.2 วิธีของคริสปีนและเฟลด์ลูเชน (Kryspin and Feldluson) อำนาจจำแนกของข้อสอบแบบอิงเกณฑ์ตามวิธีของคริสปีนและเฟลด์ลูเชน หมายถึง ประสิทธิภาพในการจำแนกผู้สอบออกเป็นผู้เรียนผู้แล้วกับผู้ที่ยังไม่เรียน และตั้งชื่อว่า &ldquo;ดัชนีเอส (index of sensitivity หรือ S-index)&rdquo; คำนวณโดยใช้สูตรที่ดัดแปลงจากสูตรหาอำนาจจำแนกของข้อสอบอิงกลุ่ม ดังนี้ (วาโร, 2551: 242)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;<img height="39" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image033.gif" width="80" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;เมื่อ&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; S &nbsp;&nbsp;แทน ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">R<sub>A</sub>แทน จำนวนคนตอบถูกหลังสอน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">R<sub>B</sub>แทน จำนวนคนตอบถูกก่อนสอน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">T&nbsp;แทน จำนวนคนที่เข้าสอบทั้งสองครั้ง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">การแปลความหมายค่า S-index</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td style="width:180px;"> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp; <u>ค่า </u><u>S-index</u></span></p> </td> <td style="width:240px;"> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <u>ความหมาย</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:180px;"> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; + 1.00</span></p> </td> <td style="width:240px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เป็นข้อสอบที่ดี เป็นไปตามทฤษฎี</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:180px;"> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp; 0.80 ถึง 0.99</span></p> </td> <td style="width:240px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เป็นข้อสอบที่ดี หาได้ในเชิงปฏิบัติ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:180px;"> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp; 0.30 ถึง 0.79</span></p> </td> <td style="width:240px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เป็นข้อสอบที่พอใช้ได้</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:180px;"> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp; 0.00 ถึง 0.29</span></p> </td> <td style="width:240px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เป็นข้อสอบที่ไม่ดี ควรตัดทิ้ง</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:180px;"> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; -1.00 ถึง 0.00</span></p> </td> <td style="width:240px;"> <p> <span style="font-size:14px;">เป็นข้อสอบที่ใช้ไม่ได้ ควรตัดทิ้ง</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">ในการพิจารณาค่าอำนาจจำแนก S-index นี้ถ้าค่า S เป็นบวกใกล้ +1.00 หมายถึง การเรียนการสอนบรรลุตามเป้าหมาย คือ ก่อนเรียนผู้เรียนไม่มีความรู้ หลังจากเรียนแล้วปรากฏว่ามีความรู้ตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ แต่ถ้าค่า S เป็นลบใกล้ -1.00 หมายถึง ก่อนเรียนผู้เรียนมีความรู้ แต่เมื่อเรียนจบเนื้อหาแล้ว ปรากฏว่าผู้เรียนกลับไม่มีความรู้เลย</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3. <u>การหาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ </u></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">การหาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ (reliability of criterion - referenced test score) วิธีนี้หาโดยการตรวจหาสัมประสิทธิ์ความสอดคล้องของคะแนนแต่ละคนที่แปรปรวนไปจากคะแนนจุดตัด จากการสอบด้วยแบบทดสอบ 1 ฉบับ ทดสอบกับนักเรียน 1 กลุ่มครั้งเดียว ซึ่งหาได้โดยการใช้วิธีของลิฟวิงสตัน (Livingston) และวิธีของโลเวทท์ (Lovett) เป็นต้น</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3.1 การหาค่าความเชื่อมั่นจากการพิจารณาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ โดยวิธีของลิฟวิงสตัน (Livingston) ลิฟวิงสตันได้สร้างสูตรคำนวณหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ ดังนี้ (อนันต์, 2525: 85)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;สูตร&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="56" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image035.gif" width="141" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;เมื่อ &nbsp;&nbsp;r<sub>cc</sub> แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงเกณฑ์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">r<sub>tt</sub>&nbsp;แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงกลุ่ม (หาได้จากสูตร KR-20 หรือ KR-21)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">S<sup>2</sup> &nbsp;แทน ความแปรปรวนของคะแนนการสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><img alt="http://www.geocities.com/nincoo/Image29.gif" height="20" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image036.gif" width="17" />&nbsp;แทน ค่าเฉลี่ยของคะแนน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;C &nbsp;แทน คะแนนเกณฑ์ หรือ คะแนนจุดตัด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3.2 การหาความเชื่อมั่นโดยวิธีของโลเวทท์ (Lovett) เป็นการนำแบบทดสอบอิงเกณฑ์ฉบับเดียว ไปทดสอบกับนักเรียน 1 กลุ่มเพียงครั้งเดียว แล้วนำผลมาวิเคราะห์ ซึ่งมีสูตร ดังนี้ (ชวลิต, 2550: 61-62)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร&nbsp; <img height="57" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image038.gif" width="179" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;เมื่อ&nbsp; r<sub>cc</sub> แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบอิงเกณฑ์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">K แทน จำนวนข้อสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">X<sub>i</sub> แทน คะแนนสอบของนักเรียนแต่ละคน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">C &nbsp;แทน คะแนนเกณฑ์หรือจุดตัด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4.<u>การหาค่าความเชื่อมั่นจากการตัดสินจำแนกความรอบรู้</u></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การหาค่าความเชื่อมั่นจากการพิจารณาความเชื่อมั่นในการตัดสินจำแนกความรอบรู้ (reliability of mastery classification decision) เป็นวิธีการตรวจหาสัมประสิทธิ์ความสอดคล้องในการตัดสินจำแนกความรอบรู้-ไม่รอบรู้ โดยอาศัยการเปรียบเทียบสัดส่วนของความสอดคล้องในการตัดสินความรอบรู้ของผู้สอบแต่ละคนทำแบบทดสอบซ้ำหรือสอบ 2 ครั้งด้วยแบบทดสอบฉบับเดียวกัน หรือแบบทดสอบคู่ขนาน ซึ่งทำการหาได้โดยวิธีการของคาร์เวอร์ (Carver) วิธีของบุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์ (ข้อสอบฉบับเดียวแบ่งครึ่งเป็น 2 ฉบับ) วิธีของแฮมเบิลตันและโนวิก (Hambleton and Novick) วิธีของสวามินาธาน แฮมเบิลตันและอัลจินา (Swaminathan, Hambleton and Algina)และวิธีของสับโคเวียก (Subkoviak) เป็นต้น ซึ่งแต่ละวิธีมีรายละเอียด ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4.1 การหาความเชื่อมั่นตามวิธีของคาร์เวอร์ (Carver Method) วิธีการคำนวณคือนำแบบทดสอบคู่ขนานจำนวน 2 ฉบับ หรือแบบทดสอบฉบับเดียวกันแต่สอบ 2 ครั้ง ไปทดสอบกับนักเรียนกลุ่มเดียวกัน แล้วนำผลการสอบไปแจกแจงเป็นตาราง ดังนี้ (Crehan, 1974: 256 citiing Carver.1970 อ้างถึงใน ชวลิต, 2550: 60)</span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;<u>ตารางที่ 9</u>การแจกแจงผลการสอบในการหาความเชื่อมั่นตามวิธีของคาร์เวอร์</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td style="width:189px;"> <p align="right"> <span style="font-size:14px;">ครั้งที่ 2/ฉบับ ข.</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ครั้งที่ 1/ฉบับ ก.</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ผ่านเกณฑ์</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ไม่ผ่านเกณฑ์</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ผ่านเกณฑ์</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">a</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">b</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ไม่ผ่านเกณฑ์</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">c</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">d</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร <img height="41" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image040.gif" width="72" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ r<sub>cc</sub> แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">a แทน กลุ่ม/จำนวนคนที่สอบผ่านเกณฑ์ทั้งสองครั้ง/ฉบับ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">d แทน กลุ่ม/จำนวนคนที่สอบไม่ผ่านเกณฑ์ทั้งสองครั้ง/ฉบับ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">N แทน จำนวนคนสอบทั้งหมดในแต่ละครั้ง</span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">4.2 หาค่าความเชื่อมั่นตามวิธีของแฮมเบิลตันและโนวิก (Hambleton and Novick Method) วิธีนี้จะนำแบบทดสอบฉบับเดียวกันสอบ 2 ครั้ง หรือสอบด้วยแบบทดสอบคู่ขนานจำนวน 2 ฉบับ กับกลุ่มตัวอย่างเดียวกัน แล้วนำผลการสอบไปแจกแจงเป็นตาราง ดังนี้ (http://www.geocities.com/nincoo/mainb8.2.htm)</span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>ตารางที่ 10</u>การแจกแจงผลการสอบในการหาความเชื่อมั่นตามวิธีของแฮมเบิลตันและโนวิก</span></p> <table border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td style="width:189px;"> <p align="right"> <span style="font-size:14px;">&nbsp;ครั้งที่ 2/ฉบับ ข.</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ครั้งที่ 1/ฉบับ ก.</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">สอบผ่าน</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">สอบไม่ผ่าน</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">สอบผ่าน</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">P11</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> &nbsp;</p> </td> </tr> <tr> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">สอบไม่ผ่าน</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> &nbsp;</p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">P22</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร Po = P11 + P22</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ &nbsp;Po &nbsp;&nbsp;แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; P11 แทน สัดส่วนของผู้รอบรู้ตรงกันทั้ง 2 ฉบับ เท่ากับผู้สอบผ่านทั้ง 2 ฉบับหารด้วยผู้เข้าสอบทั้งหมด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; P22แทน สัดส่วนของผู้ไม่รอบรู้ตรงกันทั้ง 2 ฉบับ เท่ากับผู้สอบไม่ผ่านทั้ง 2 ฉบับหารด้วยผู้เข้าสอบทั้งหมด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ข้อสังเกต วิธีการประมาณค่าความเชื่อมั่นวิธีนี้คล้ายกับวิธีของคาร์เวอร์ (Carver Method)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4.3 การหาความเชื่อมั่นตามวิธีของสวามินาธาน แฮมเบิลตันและอัลจินา (Swaminathan, Hambleton and Algina Method) วิธีการคำนวณคล้ายกับสองวิธีแรก แต่จะเพิ่มความละเอียดมากกว่า โดยหักความสอดคล้องที่อาจจะเกิดขึ้นโดยบังเอิญแล้วมีผลทำให้ความเชื่อมั่นสูงเกินจริง นำผลการสอบมาจัดลงในตารางเพื่อหาความเชื่อมั่น ดังนี้ (ชวลิต, 2550: 61)</span></p> <p> &nbsp;</p> <p style="margin-left:51.1pt;"> <span style="font-size:14px;"><u>ตารางที่ 11</u>การแจกแจงผลการสอบในการหาความเชื่อมั่นตามวิธีของสวามินาธาน แฮมเบิลตันและอัลจินา</span></p> <table border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td style="width:144px;"> <p align="right"> <span style="font-size:14px;">ครั้งที่ 2/ฉบับ ข.</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ครั้งที่ 1/ฉบับ ก.</span></p> </td> <td style="width:144px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ผ่านเกณฑ์</span></p> </td> <td style="width:144px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ไม่ผ่านเกณฑ์</span></p> </td> <td style="width:134px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">รวม</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:144px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ผ่านเกณฑ์</span></p> </td> <td style="width:144px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">a</span></p> </td> <td style="width:144px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">b</span></p> </td> <td style="width:134px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">a+b</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:144px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ไม่ผ่านเกณฑ์</span></p> </td> <td style="width:144px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">c</span></p> </td> <td style="width:144px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">d</span></p> </td> <td style="width:134px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">c+d</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:144px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">รวม</span></p> </td> <td style="width:144px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">a+c</span></p> </td> <td style="width:144px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">b+d</span></p> </td> <td style="width:134px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">N</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร <img height="41" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image042.gif" width="89" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ &nbsp;K แทน ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Po แทน ค่าความเชื่อมั่นตามวิธีของคาร์เวอร์ <img height="41" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image044.gif" width="55" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Pe แทน อัตราส่วนความสอดคล้องที่คาดหวัง = (a+b)(c+d)+(a+c)(b+d)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4.4 การหาความเชื่อมั่นตามวิธีของบุญเชิด&nbsp;ภิญโญอนันตพงษ์ ได้เสนอวิธีการหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ โดยการหาสัมประสิทธิ์ของความสอดคล้องในการตัดสินความรอบรู้จากการแบ่งครึ่งแบบทดสอบ&nbsp; แล้วปรับขยายความเชื่อมั่นให้เต็มฉบับ&nbsp; โดยใช้สูตรสเปียร์แมนบราวน์&nbsp; แต่ต้องแบ่งครึ่งคะแนนของแต่ละคนออกเป็น 2 ส่วนและคะแนนเกณฑ์ก็ต้องแบ่งครึ่งเช่นเดียวกัน แล้วนำผลการสอบไปแจกแจงเป็นตาราง ดังนี้&nbsp; (http://www.wijai48.com/leriability/test1time/buncherd.htm)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>ตารางที่ 12</u>การแจกแจงผลการสอบในการหาความเชื่อมั่นตามวิธีของบุญเชิด&nbsp;ภิญโญอนันตพงษ์</span></p> <table border="1" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody> <tr> <td style="width:189px;"> <p align="right"> <span style="font-size:14px;">&nbsp;ข้อสอบข้อคู่</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ข้อสอบข้อคี่</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">สอบผ่าน</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">สอบไม่ผ่าน</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">สอบผ่าน</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">P11</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> &nbsp;</p> </td> </tr> <tr> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">สอบไม่ผ่าน</span></p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> &nbsp;</p> </td> <td style="width:189px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">P22</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร&nbsp; Po = P11 + P22</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ &nbsp;Po &nbsp;แทน สัดส่วนของความสอดคล้องในการตัดสินความรอบรู้จากแบบทดสอบที่แบ่งครึ่ง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; P11 แทน สัดส่วนของผู้รอบรู้ตรงกันทั้งข้อสอบข้อคู่และข้อคี่ เท่ากับผู้สอบผ่านทั้งข้อสอบข้อคู่และข้อคี่หารด้วยผู้เข้าสอบทั้งหมด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; P22แทน สัดส่วนของผู้ไม่รอบรู้ตรงกันทั้ง 2 ฉบับ เท่ากับผู้สอบไม่ผ่านทั้งข้อสอบข้อคู่และข้อคี่หารด้วยผู้เข้าสอบทั้งหมด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">ปรับขยายความเชื่อมั่นเต็มฉบับโดยใช้สูตรสเปียร์แมน<br /> บราวน์</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร<img height="47" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image046.gif" width="96" />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ B(Po) แทน สัดส่วนของความสอดคล้องในการตัดสินความรอบรู้ที่ปรับขยายให้เต็มฉบับ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4.5 การหาความเชื่อมั่นตามวิธีของวิธีของสับโคเวียก (Subkoviak) (Subkoviak, 1976: 265-276 อ้างถึงใน ปราณี ทองคำ, 2539: 219) เป็นการหาความเชื่อมั่นในการสอบเพียงครั้งเดียว ด้วยแบบทดสอบคู่ขนานสองฉบับ ซึ่งมีคะแนนเป็น X และ X&cent; โดยที่คะแนนทั้งสองเป็นอิสระกัน และมีการแจกแจงแบบทวินาม เหมือนกันตลอด (Identically Binomial) แต่ค่าสถิติที่นำมาคำนวณมาจากคะแนน X&cent; นิยามของสัมประสิทธิ์ความสอดคล้องสำหรับบุคคล i ว่าเป็นความน่าจะเป็นที่บุคคลนั้นถูกกำหนดให้เป็นผู้รอบรู้เหมือนกัน อันเนื่องมาจากผลการสอบ แบบทดสอบคู่ขนาน เพื่อกำหนดคะแนนเกณฑ์ C โดยเขียนเป็นสมการสัมประสิทธิ์ความสอดคล้อง คือ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">สูตร<img height="64" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image048.gif" width="89" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อ P<sub>C</sub> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แทน ความน่าจะเป็นของการตัดสิน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;N &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แทน จำนวนผู้สอบทั้งหมด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; P<sub>C</sub>(i) แทน สัมประสิทธิ์ของความสอดคล้อง ของคนที่ i เมื่อกำหนดคะแนนจุดตัดเท่ากับ C</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><img height="27" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image050.gif" width="251" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">โดยที่&nbsp; <img height="51" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image052.gif" width="232" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ &nbsp;Pi &nbsp;แทน ความน่าจะเป็นที่แท้จริงในการตอบข้อคำถามถูกของคนที่i ค่าของ Pi สามารถหาได้ ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. ถ้าแบบทดสอบมีจำนวนข้อสอบมากกว่า 40 ข้อ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><img height="43" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image054.gif" width="56" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อX<sub>i </sub>&nbsp;&nbsp;แทน จำนวนข้อที่ตอบถูก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;n &nbsp;แทน จำนวนข้อสอบทั้งหมดในแบบทดสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. ถ้าแบบทดสอบมีจำนวนข้อสอบน้อย</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><img height="48" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image056.gif" width="177" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ a<sub>21</sub> แทน สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบโดยวิธี Kuder Richardson Formula 21 (KR-21)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="21" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image006.gif" width="19" />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แทน คะแนนเฉลี่ยที่ได้จากการสอบ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">สับโคเวียก พบว่า ถ้าข้อมูลจากแบบทดสอบคู่ขนาน 2 ชุด มีความสัมพันธ์กัน ทางบวก ค่าความเชื่อมั่นจะมีค่าต่ำเกินไป แต่ถ้ามีความสัมพันธ์กันทางลบ ค่าที่ได้จะมีค่าสูงเกินไป และการกระจายแบบทวินามของคะแนนจากข้อสอบที่ผลการตอบแต่ละข้อเป็นอิสระต่อกันนั้น พบว่า เมื่อคะแนนเกณฑ์ C มีค่าต่ำสุดและสูงสุด ค่าความเชื่อมั่นจะสูงสุด และเมื่อเกณฑ์อยู่กลาง ๆ ค่าความเชื่อมั่นจะมีค่าต่ำสุด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">ข้อบกพร่องของวิธีนี้ คือ การประมาณค่าความเชื่อมั่น มีความเป็นไปได้ที่จะสูงกว่าความเป็นจริง เนื่องจากได้รวมเอาความสอดคล้องโดยบังเอิญเข้าไว้ (Po ไม่มีการปรับแก้) นอกจากนี้ในการใช้แบบทดสอบคู่ขนาน เพื่อหาสัมประสิทธิ์ความสอดคล้อง ในการกำหนดความรอบรู้ของนักเรียนแต่ละคน และของกลุ่มนั้นเป็นการปฏิบัติที่ยากที่จะให้แบบทดสอบทั้งสองมีข้อคำถาม (item) ที่มีความยากง่ายเท่ากันทุกข้อ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><strong>17.2.3.4 องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ</strong></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบต่อไปนี้ (บุญเรียง, 2527: 106)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. ความยาวของแบบทดสอบ แบบทดสอบที่มีข้อสอบจำนวนมากจะมีค่าความเชื่อมั่นสูงกว่าแบบทดสอบที่มีจำนวนข้อสอบน้อย</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. ความเป็นเอกพันธ์ของความง่ายของข้อสอบ แบบทดสอบที่ประกอบด้วยข้อสอบมีระดับความง่ายใกล้เคียงกัน จะมีความเชื่อมั่นสูงกว่าแบบทดสอบที่ประกอบด้วยข้อสอบที่มีระดับความง่ายต่างกัน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">3. อำนาจจำแนกของข้อสอบ แบบทดสอบที่ประกอบด้วยข้อสอบที่มีอำนาจจำแนกสูง จะมีค่าความเชื่อมั่นสูงกว่าแบบทดสอบที่ประกอบด้วยข้อสอบที่มีอำนาจจำแนกต่ำ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">4. ความยากของข้อสอบ แบบทดสอบที่ประกอบด้วยข้อสอบที่มีระดับความยากปานกลาง จะมีค่าความเชื่อมั่นสูงกว่าแบบทดสอบที่ประกอบด้วยข้อสอบที่ง่ายมากๆหรือยากมากๆ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">5. ความแตกต่างของผู้สอบ ในการคำนวณค่าความเชื่อมั่น ถ้าผู้เข้าสอบมีความสามารถแตกต่างกันมากจะทำให้ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบมีค่าสูง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">6. ชนิดของแบบทดสอบ ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบที่จำกัดเวลาในการสอบ (speed test) จะสูงกว่าแบบทดสอบที่ไม่จำกัดเวลา ปล่อยให้ผู้สอบทำจนเต็มความสามารถ (mastery test)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">7. ความเที่ยงตรงของแบบทดสอบ แบบทดสอบที่มีความเที่ยงตรงสูงจะมีค่าความเชื่อมั่นสูงกว่าแบบทดสอบที่มีความเที่ยงตรงต่ำ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">8. ความเป็นปรนัย (objectivity) ของแบบทดสอบ แบบทดสอบที่ประกอบด้วยข้อสอบที่มีความเป็นปรนัยสูง จะมีค่าความเชื่อมั่นสูง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><strong>17.2.4 แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า</strong></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบมาตรส่วนประมาณค่า (rating scale) ตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือชนิดนี้ไม่ต้องหาค่าความยากง่าย แต่ต้องหาค่าอำนาจจำแนกรายข้อ ซึ่งมี 2 วิธี ดังนี้ (บุญชม, 2545: 110)&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. นิยามหาจากความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนกลุ่มสูงกับกลุ่มต่ำ โดยใช้ t-test จากสูตร</span></p> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><img height="91" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image059.jpg" width="349" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">t แทนค่าอำนาจจำแนก อำนาจจำแนกที่หาได้จากสูตรนี้เป็นกรณีพิเศษ ที่ขอบเขตของค่าอำนาจจำแนกจะมากกว่า -1.00 กับ +1.00 อำนาจจำแนกที่สมบูรณ์ ค่า t จะเท่ากับคะแนนเต็ม</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. การหาค่าอำนาจจำแนกจากสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนของข้อนั้นกับคะแนนรวมจากสูตร</span></p> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><img height="59" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image061.gif" width="287" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">โดย&nbsp;&nbsp;&nbsp; r&nbsp; แทน ค่าอำนาจจำแนก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; X แทน คะแนนของข้อที่หาค่าอำนาจจำแนก</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Y แทน คะแนนรวมของทุกข้อ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">การกำหนดคะแนนให้กับคำตอบในแต่ละระดับของข้อความหรือข้อคำถามแบบ Rating scale ทำให้มีคะแนนของข้อนั้น เมื่อมีคะแนนก็ทำให้สามารถวิเคราะห์หาค่าอำนาจจำแนกได้ทั้ง 2 วิธี ถ้าคะแนนข้อใดมีสหสัมพันธ์สูงกับคะแนนรวม แสดงว่าข้อนั้นวัดได้สอดคล้องกับแบบวัดทั้งฉบับ นั่นคือสอดคล้องกับการวัดข้อคำถามส่วนใหญ่หรือเกือบทั้งหมด เป็นการวัดในสิ่งเดียวกัน นับว่ามีค่าอำนาจจำแนกสูงเช่นกัน เพราะกลุ่มสูงจะมีค่าเฉลี่ยสูงห่างจากกลุ่มต่ำที่มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าอย่างชัดเจน (อย่างมีนัยสำคัญ)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">ส่วนการหาค่าความเที่ยงตรง(หรือความเชื่อมั่น)&nbsp;ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาใช้วิธีการให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาตัดสินเป็นรายข้อ&nbsp;และความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างจะใช้วิธีการเดียวกับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ การคำนวณหาความเที่ยงตรงหรือหาความเชื่อมั่น วิธีที่แพร่หลายคือวิธีของครอนบาค (Cronbach, 1970)&nbsp;เป็นวิธีการหาความเชื่อมั่นที่สามารถใช้กับเครื่องมือที่ไม่ได้ตรวจให้คะแนนเป็น 0 กับ 1 เรียกว่า'สัมประสิทธิ์แอลฟา' (a-alpha coefficient) จากสูตรดังนี้ (บุญชม, 2545: 99)</span></p> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><img height="56" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image063.gif" width="139" /></span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="15" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image065.gif" width="16" />&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; K&nbsp;&nbsp; แทน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จำนวนข้อของเครื่องมือวัด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="27" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image067.gif" width="40" />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;แทน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลรวมของความแปรปรวนของแต่ละข้อ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="24" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image069.gif" width="19" />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความแปรปรวนของคะแนนรวม (S<sup>2</sup> = S.D.<sup>2</sup>)</span></p> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(standard deviation) (บุญชม, 2545: 106)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="53" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image071.gif" width="183" /></span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; S.D.&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;แทน&nbsp; &nbsp;ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="17" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image073.gif" width="17" />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แทน&nbsp; &nbsp;คะแนนแต่ละคน</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="27" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image075.gif" width="44" />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แทน&nbsp; &nbsp;ผลรวมคะแนนแต่ละคนยกกำลังสอง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="27" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image077.gif" width="59" />&nbsp;&nbsp;แทน&nbsp; &nbsp;ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกำลังสอง</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="19" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image079.gif" width="17" />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;แทน&nbsp; &nbsp;จำนวนทั้งหมดในกลุ่มตัวอย่าง</span></p> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">สำหรับการวิเคราะห์และแปลผล โดยทั่วไปจะใช้สถิติและเกณฑ์ในการแปลผลหลายลักษณะ ดังนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. การแปลผลด้วยร้อยละ (Percentage) วิธีนี้จะหาความถี่หรือจำนวนในแต่ละคำถาม (คำตอบ) แล้วแปลความถี่เหล่านั้นให้เป็นค่าร้อยละ จากสูตรดังนี้ (บุญชม, 2545: 104)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สูตร&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="41" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image081.gif" width="81" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">เมื่อ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp; P&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ร้อยละ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp; f&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp; N&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จำนวนความถี่ทั้งหมด</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">ตัวอย่างเช่น ผู้เรียนมีความพอใจในวิธีสอนของครูในระดับมากที่สุดถึงร้อยละ 43.00 รองลงมาระดับมากร้อยละ 25.00 ระดับน้อยร้อยละ 18.00 ระดับปานกลางร้อยละ 9.00 และระดับน้อยที่สุดร้อยละ 5.00 ตามลำดับ</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">2. การแปลผลด้วยค่าเฉลี่ย (Mean) วิธีนี้จะกำหนดให้คะแนนประจำแต่ละระดับของความเข้มข้น แล้วหาค่าเฉลี่ยและนำค่าเฉลี่ยไปเทียบเกณฑ์การแปลความหมาย การหาค่าเฉลี่ยมักใช้วิธีการนำความถี่หรือจำนวนของแต่ละระดับคูณด้วยคะแนนประจำของระดับนั้น ได้ผลเท่าใดรวมกันแล้วหารด้วยจำนวนคนทั้งหมด ก็จะได้ค่าเฉลี่ยตามต้องการ จากสูตรดังนี้ (บุญชม, 2545: 105)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp; สูตร&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="37" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image083.gif" width="50" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp; เมื่อ&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; <img height="21" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image085.gif" width="17" />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ค่าเฉลี่ย</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; SX&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุ่ม</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;N&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แทน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จำนวนคะแนนในกลุ่ม</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;</span><span class="Apple-style-span" style="font-size: 14px; ">ได้มีการแปลผลค่าเฉลี่ยแตกต่างกันหลากหลายรูปแบบ ในที่นี้จะอธิบายเฉพาะแบบมาตราส่วนประมาณค่า 3 &ndash;5 ระดับ เท่านั้น ดังนี้&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">1. แบบมาตราส่วนประมาณค่า โดยกำหนดระดับคะแนนเป็น 3 ระดับ คือ ระดับ&nbsp;&nbsp;&nbsp;3 &nbsp;&nbsp;&nbsp;2 &nbsp;&nbsp;&nbsp;1 &nbsp;&nbsp;&nbsp;และกำหนดเกณฑ์ในการแปลความหมายดังต่อไปนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>แบบที่ 1</u>การแบ่งระดับชั้น เท่ากับ (คะแนนสูงสุด-คะแนนต่ำสุด) หารด้วยจำนวนชั้น = (3-1)/3 = 0.6</span></p> <p> &nbsp;</p> <table align="center" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:470px;" width="471"> <tbody> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ช่วงระดับคะแนน</u></span></p> </td> <td style="width:331px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ความหมาย/การแปลผล อยู่ในระดับ</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">2.41-3.00</span></p> </td> <td style="width:331px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ดีมาก</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.81-2.40</span></p> </td> <td style="width:331px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">พอใช้</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.00-1.80</span></p> </td> <td style="width:331px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ปรับปรุง</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <div style="clear:both;"> &nbsp;</div> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>แบบที่ 2</u>&nbsp;การแบ่งระดับชั้นแบบการกระจายปกติ</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:480px;" width="480"> <tbody> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ช่วงระดับคะแนน</u></span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ความหมาย/การแปลผล อยู่ในระดับ</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">2.50-3.00</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">มาก</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.50-2.49</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ปานกลาง</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.00-1.49</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อย</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>แบบที่ 3 </u>การแบ่งระดับชั้นแบบการกระจายปกติ</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:480px;" width="480"> <tbody> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ช่วงระดับคะแนน</u></span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ความหมาย/การแปลผล อยู่ในระดับ</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">2.51-3.00</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ปานกลาง</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.51-2.50</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อย</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.00-1.50</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อยที่สุด</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;">2. แบบมาตราส่วนประมาณค่า โดยกำหนดระดับคะแนนเป็น 4 ระดับ คือ ระดับ&nbsp;&nbsp;4 &nbsp;&nbsp;&nbsp;3 &nbsp;&nbsp;&nbsp;2 &nbsp;&nbsp;&nbsp;1 &nbsp;&nbsp;&nbsp;และกำหนดเกณฑ์ในการแปลความหมายดังต่อไปนี้</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>แบบที่ 1</u>การแบ่งระดับชั้น เท่ากับ (คะแนนสูงสุด-คะแนนต่ำสุด) หารด้วยจำนวนชั้น = (4-1)/4 = 0.75</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:480px;" width="480"> <tbody> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ช่วงระดับคะแนน</u></span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ความหมาย/การแปลผล อยู่ในระดับ</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">3.26-4.00</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">มาก</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">2.51-3.25</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ค่อนข้างมาก</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.76-2.50</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ค่อนข้างน้อย</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.00-1.75</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อย</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>แบบที่ 2 </u>การแบ่งระดับชั้นแบบการกระจายปกติ</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:480px;" width="480"> <tbody> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ช่วงระดับคะแนน</u></span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ความหมาย/การแปลผล อยู่ในระดับ</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">3.50-4.00</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">มากที่สุด</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">2.50-3.49</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">มาก</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.50-2.49</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อย</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.00-1.49</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อยที่สุด</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>แบบที่ 3</u>การแบ่งระดับชั้นแบบการกระจายปกติ</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:480px;" width="480"> <tbody> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ช่วงระดับคะแนน</u></span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ความหมาย/การแปลผล อยู่ในระดับ</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">3.51-4.00</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">มากที่สุด</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">2.51-3.50</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">มาก</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.51-2.50</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อย</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.00-1.50</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อยที่สุด</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> <span style="font-size:14px;">3. แบบมาตราส่วนประมาณค่า โดยกำหนดระดับคะแนนเป็น 5 ระดับ คือ ระดับ&nbsp;&nbsp;5 &nbsp;&nbsp;&nbsp;4 &nbsp;&nbsp;&nbsp;3 &nbsp;&nbsp;&nbsp;2 &nbsp;&nbsp;&nbsp;1 &nbsp;&nbsp;&nbsp;และกำหนดเกณฑ์ในการแปลความหมายดังต่อไปนี้ (สมนึก, 2541:36-42; ประคอง, 2538; บุญชม, 2545:103)</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>แบบที่ 1</u>การแบ่งระดับชั้น เท่ากับ (คะแนนสูงสุด-คะแนนต่ำสุด) หารด้วยจำนวนชั้น = (5-1)/5 = 0.8</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:480px;" width="480"> <tbody> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ช่วงระดับคะแนน</u></span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ความหมาย/การแปลผล อยู่ในระดับ</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">4.21-5.00</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">มากที่สุด</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">3.41-4.20</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">มาก</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">2.61-3.40</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ปานกลาง</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.81-2.60</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อย</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.00-1.80</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อยที่สุด</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>แบบที่ 2</u>&nbsp; ศึกษาการสร้างแบบสอบถามจากตำราวัดผลทางการศึกษา ของสมนึก ภัททิยธนี &nbsp;มีเกณฑ์ความหมาย ดังนี้ (สมนึก, 2541:36-42)</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:480px;" width="480"> <tbody> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ช่วงระดับคะแนน</u></span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ความหมาย/การแปลผล อยู่ในระดับ</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">4.50-5.00</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">มากที่สุด</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">3.50-4.49</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">มาก</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">2.50-3.49</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ปานกลาง</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.50-2.49</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อย</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.00-1.49</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อยที่สุด</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>แบบที่ 3</u>การแบ่งระดับชั้นแบบการกระจายปกติ</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:480px;" width="480"> <tbody> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ช่วงระดับคะแนน</u></span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ความหมาย/การแปลผล อยู่ในระดับ</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">4.51-5.00</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">มากที่สุด</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">3.51-4.50</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">มาก</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">2.51-3.50</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ปานกลาง</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.51-2.50</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อย</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.00-1.50</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">น้อยที่สุด</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>แบบที่ 4</u>นำค่าคะแนนจาก 5 ระดับมาแปลผลออกมาเพียง 4 ระดับ (ทัศนาภรณ์ และรุจี, 2550:20)</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:480px;" width="480"> <tbody> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ช่วงระดับคะแนน</u></span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ความหมาย/การแปลผล อยู่ในระดับ</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">4.00-5.00</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ดีมาก</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">3.00-3.99</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ดี</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">2.00-2.99</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">พอใช้</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.00-1.99</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ต้องแก้ไข</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>แบบที่ 5</u>นำค่าคะแนนจาก 5 ระดับมาแปลผลออกมาเพียง 4 ระดับ (กรมวิชาการ, 2545: 70)</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:480px;" width="480"> <tbody> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ช่วงระดับคะแนน</u></span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ความหมาย/การแปลผล อยู่ในระดับ</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">4.56-5.00</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ดียิ่ง</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">3.56-4.55</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ดี</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">2.56-3.55</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ปานกลาง</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ต่ำกว่า 2.56</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ไม่ดี</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> <span style="font-size:14px;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>แบบที่ 6</u>นำค่าคะแนนจาก 5 ระดับมาแปลผลออกมาเพียง 3ระดับ (ชวลิต, 2550:80)</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" style="width:480px;" width="480"> <tbody> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ช่วงระดับคะแนน</u></span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><u>ความหมาย/การแปลผล อยู่ในระดับ</u></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">3.51-5.00</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">สูง</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">2.51-3.50</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ปานกลาง</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:139px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">1.00-2.50</span></p> </td> <td style="width:340px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">ต่ำ</span></p> </td> </tr> </tbody> </table> <p> &nbsp;</p> <p> <span style="font-size:14px;"><u>ตารางที่ 13</u>&nbsp; สรุปการคำนวณหาค่าต่าง ๆ ของนวัตกรรมและเครื่องมือที่นำมาใช้ในการวิจัยการศึกษา</span></p> <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="588"> <tbody> <tr> <td rowspan="2" style="width:96px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">รายการ</span></p> </td> <td colspan="2" style="width:384px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">แบบทดสอบเลือกตอบ</span></p> </td> <td style="width:108px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">แบบประมาณค่า</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:216px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">อิงกลุ่ม</span></p> </td> <td style="width:168px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">อิงเกณฑ์</span></p> </td> <td style="width:108px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">3-5 ระดับ</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:96px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ค่า IOC</span></p> </td> <td colspan="3" style="width:492px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">IOC = SR/N</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:96px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ค่าความยากง่าย</span></p> </td> <td colspan="2" style="width:384px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">P = R/N</span></p> </td> <td style="width:108px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">-</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:96px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ค่าอำนาจจำแนก</span></p> </td> <td style="width:216px;"> <p> <span style="font-size:14px;"><img height="47" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image087.gif" width="87" /></span></p> </td> <td style="width:168px;"> <p> <span style="font-size:14px;">Brennanหรือ B-index:</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><img height="42" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image088.gif" width="91" /></span></p> </td> <td style="width:108px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">-</span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:96px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ค่าความเที่ยง</span></p> </td> <td style="width:216px;"> <p> <span style="font-size:14px;">Pearson Product moment Correlation Coefficient:</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><img height="40" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image089.gif" width="202" />สูตร KR-20:</span></p> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><img height="40" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image090.gif" width="143" /></span></p> </td> <td style="width:168px;"> <p> <span style="font-size:14px;">Livingston:</span></p> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><img height="56" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image092.gif" width="141" /></span></p> <p> <span style="font-size:14px;">Lovett:</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><img height="49" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image094.gif" width="153" />&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span></p> </td> <td style="width:108px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;">สูตรของ Cronbach</span></p> <p> <span style="font-size:14px;"><img height="41" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image096.gif" width="89" /></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:96px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ประสิทธิภาพ</span></p> </td> <td colspan="3" style="width:492px;"> <p align="center"> <span style="font-size:14px;"><img height="44" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image004.gif" width="91" />&nbsp;,<img height="44" src="file:///C:/Users/user/AppData/Local/Temp/msohtmlclip1/01/clip_image010.gif" width="91" /></span></p> </td> </tr> <tr> <td style="width:96px;"> <p> <span style="font-size:14px;">ดัชนีประสิทธิผล&nbsp;</span></p> </td> <td colspan="3" style="width:492px;"> <p> <span style="font-size:14px;">E.I.&nbsp;รายบุคคล= (คะแนนสอบหลังเรียน &ndash; คะแนนสอบก่อนเรียน)หารด้วย(คะแนนเต็ม - คะแนนสอบก่อนเรียน)&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</span></p> <p> <span style="font-size:14px;">E.I.&nbsp;กลุ่ม= (ผลรวมของคะแนนสอบหลังเรียน &ndash; ผลรวมรวมของคะแนนสอบก่อนเรียน)หารด้วย[(จำนวนนักเรียน xคะแนนเต็ม) &ndash;ผลรวมของคะแนนสอบก่อนเรียน]</span></p> </td> </tr> </tbody> </table>